แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

CATECHETICAL CENTER OF BANGKOK ARCHDIOCESE

thzh-CNenfritjako

สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิส ตรัส “ข้าพเจ้าขออวยพรพระศาสนจักรที่ยากจน และคนยากจน”

นครรัฐวาติกันที่ 16 มีนาคม 2013 (VIS)

เช้านี้    ณ หอประชุมเปาโลที่ 6 สมเด็จพระสันตะปาปาทรงมีปฏิสันถารกับนักหนังสือพิมพ์และผู้ทำงานด้านสื่อ 6,000 คนรวมทั้งสันตะสำนักด้วย, ทั้งพนักงานเต็มเวลาและบางเวลา, เพื่อให้รายงานข่าวได้ครอบคลุมเหตุการณ์ต่างๆที่เกี่ยวกับการประชุมลับเพื่อสรรหาพระสันตะปาปาอย่างสมบูรณ์. พระองค์ประทานสุนทรพจน์ดังต่อไปนี้

“สหายที่รัก ข้าพเจ้าปลาบปลื้มใจ ตอนเริ่มภารกิจของข้าพเจ้าในฐานะพระสันตะปาปานั้น เพื่อพบพวกท่านที่ทำงานที่นี่ในโรมในช่วงเวลาที่เคร่งเครียดที่ได้เริ่มด้วยการประกาศที่น่าประหลาดใจเกี่ยวกับสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 พระสันตะปาปาองค์ก่อนที่น่าเคารพยิ่ง, เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ข้าพเจ้าขอทักทายพวกท่านแต่ละคนด้วยความอบอุ่น”

บทบาทของสื่อสารมวลชนยังเพิ่มขึ้นเร็วๆนี้” “มากทีเดียว จนกลายเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อบรรยายเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยต่อโลก, ดังนั้น ข้าพเจ้าขอบใจการบริการที่เด่นชัดใน 2-3 ปีที่ผ่านมา-พวกท่านมีงานมากมายที่จะทำ ใช่ไหม –เมื่อสายตาของโลกคาทอลิก และไม่เพียงเท่านั้น ได้กลายเป็นเมืองนิรันดร์ไปแล้ว, โดยเฉพาะไปสู่พื้นที่นี้ อันเป็นที่วางพระศพของนักบุญเปโตรที่เป็นจุดสำคัญ. ใน 2-3 ปีที่ผ่านมา พวกท่านมีโอกาสสนทนากับสันตะสำนัก, พระศาสนจักร, ร่วมจารีตพิธีและธรรมประเพณี,ความเชื่อและโดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทบาทของพระสันตะปาปาและพระภารกิจของพระองค์

“ข้าพเจ้ารู้สึกขอบคุณทุกท่านที่สามารถสังเกตและเสนอเหตุการณ์เหล่านี้ในประวัติศาสตร์เหล่านี้ในประวัติศาสตร์พระศาสนจักร ขณะที่เป็นมุมมองที่จำเป็นมากที่สุด ในสิ่งที่ต้องอ่าน อันเกี่ยวกับความเชื่อ. ต้องอ่านเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่มีความซับซ้อนหลายครั้ง จึงสามารถสรุปเป็นมิติของความเชื่อได้. เหตุการณ์ในพระศาสนจักรไม่ซับซ้อนเท่าเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจและการเมือง. แต่มีลักษณะพื้นฐานหนึ่ง นั่นคือ เหตุการณ์เหล่านี้ตอบตรรกะที่ไม่ใช่เรื่องใหญ่ของเหตุการณ์ อาจกล่าวว่า เป็นเรื่องราวของโลก และนี่เป็นสาเหตุว่าไม่ง่ายที่จะตีความและสื่อสารเรื่องเหล่านี้ไปสู่ผู้ชมหลากหลายและในวงกว้าง. ความจริง ถึงแม้ เป็นพระศาสนจักรยังเป็นสถาบันของมนุษย์ที่มีประวัติศาสตร์พร้อมกับทุกสิ่งที่ถ่ายทอดกันมา,  ไม่ได้มีลักษณะทางการเมือง แต่เป็นลักษณะฝ่ายจิตที่จำเป็น: พระศาสนจักรเป็นประชากรของพระเจ้า, ประชากรศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้าที่ก้าวไปพบปะกับพระเยซูคริสตเจ้า. โดยการจัดวางตัวเองในมุมมองนี้ เราก็จะสามารถอธิบายถึงวิธีดำเนินงานของพระศาสนจักรคาทอลิก”

“พระคริสตเจ้าคือพระชุมพาของพระศาสนจักร แต่การประทับอยู่ของพระองค์ในประวัติศาสตร์ขับเคลื่อนผ่านอิสรภาพของมนุษย์. ท่ามกลางสิ่งเหล่านี้ เราได้รับเลือกให้รับใช้ในฐานะตัวแทนของพระองค์ ผู้สืบตำแหน่งจากอัครสาวกเปโตร แต่พระคริสตเจ้าทรงเป็นศูนย์กลางและพระบุคคลอ้างอิงพื้นฐานและเป็นหัวใจของพระศาสนจักร. ปราศจากพระองค์ ก็จะไม่มีนักบุญเปโตรหรือพระศาสนจักรมีเหตุผลที่จะเป็นอยู่. ขณะที่สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ทรงเน้นย้ำว่า พระคริสตเจ้าประทับอยู่และนำพระศาสนจักร. ในทุกสิ่งที่เกิดขึ้น  นักต่อสู้คือจิตที่ศักดิ์สิทธิ์. พระองค์ทรงสร้างแรงบันดาลใจการตัดสินพระทัยเพื่อความดีของพระศาสนจักร”  พระองค์ทรงแนะนำคณะพระคาร์ดินัลด้วยการภาวนาและการเลือกตั้ง.

สหายที่รัก สิ่งสำคัญคือขอบข่ายของการตีความเรื่องนี้ การใช้ภาษา การอธิบายนี้ เพื่อนำหัวใจของเหตุการณ์ในวันเลห่านี้เข้าสู่ศูนย์กลาง”

"เหนือสิ่งอื่นใด จากสิ่งที่เกิดใหม่นี้คือ ขอขอบคุณที่จริงใจสำหรับความพยายามของพวกท่านในวันที่น่าท้าทายเหล่านี้ รวมทั้งการเชื้อเชิญให้หาทางที่จะรู้จักลักษณะที่แท้จริงของพระศาสนจักรและแรงบันดาลฝ่ายจิตวิญญาณที่นำพระศาสนจักร และนั่นเป็นสิ่งเที่ยงแท้ที่สุดสำหรับการเข้าใจพระศาสนจักร. ขอให้มั่นใจว่า ในส่วนของพระศาสนจักร ได้ให้ความสนใจต่องานที่มีค่าของพวกท่าน.  พวกท่านมีความสามารถที่จะรวบรวมและแสดงความคาดหมายและความต้องการในสมัยของเรา. เพื่อจัดหาองค์ประกอบที่จำเป็นเพื่ออ่านสภาพความเป็นจริง. เฉกเช่นอาชีพอื่นๆ อาชีพของพวกท่านต้องมีการศึกษา ความรู้สึกไวและทัประสบการณ์ แต่ต้องมุ่งสู่ความจริง ความดีและความงดงาม. สิ่งนี้ทำให้เราใกล้ชิดกันเพราะพระศาสนจักรมีอยู่เพื่อสื่อความจริง ความดีและความงดงาใน “ตัวตนแท้ๆ”. เป็นที่กระจ่างชัดว่าเราทุกคนได้รับเรียก ไม่ใช่เพื่อสื่อตัวเราเอง แต่สื่อกลุ่มที่มี 3 สิ่งได้แก่ความจริง ความดีและความงดงาม”มากกว่า

“หลายคนไม่รู้สาเหตุที่พระสังฆราชแห่งโรมปรารถนาที่เรียกตัวท่านว่า “ฟรังซิส”. คำนี้มาจากคำฟรานซิส ซาเวียร์. ฟรานซิสเดอซาลส์หรือ
ฟรังซิสแห่งอัสซีซีหรือเปล่า. ข้าพเจ้าจะเล่าเรื่องหนึ่ง ตอนที่มีการเลือกตั้ง ข้าพเจ้ามีอัครสังฆราชกิตติคุณแห่งเซา เปาโลกซึ่งอยู่ในคณะนักบวชคณะ
ฟรังซิสกัน ชื่อ Cardinal Claudio Hummes [O.F.M.] ท่านเป็นเพื่อนที่รักคนหนึ่ง. ท่านเป็นสังฆมณตรีกิตติคุณของสมณกระทรวงเพื่อผู้ได้รับศีลบวช เมื่อสิ่งต่างๆกำลังมี “อันตราย” เล็กน้อย, ท่านจะปลอบใจข้าพเจ้า. และแล้ว เมื่อคะแนนโหวตเป็นสองในสาม มีการปรบมือที่เป็นปกติเพราะพระสันตะปาปาได้รับเลือกสรรแล้ว. ท่านได้มาสวมกอดข้าพเจ้าและพูดว่า “ขอพระองค์อย่าลืมคนจนนะ” และข้าพเจ้าประทับใจคำนี้ ณ ที่นี้ (เคาะหน้าผากของพระองค์) คนจน,คนจน. ทันทีทันใด ข้าพเจ้าคิดถึงสัมพันธภาพกับคนจน ข้าพเจ้าก็คิดถึงนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี. แล้วข้าพเจ้าคิดถึงการต่อสู้ ,ขณะที่การลงคะแนนเสียงดำเนินต่อไป จนกระทั่งมีการนับคะแนนเสียงทั้งหมด. และดังนั้น ชื่อที่ข้าพเจ้านึกได้คือฟรังซิสแห่งอัสซีซี.
สำหรับข้าพเจ้า นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีเป็นบุรุษแห่งความยากจน บุรุษแห่งสันติภาพ บุรุษที่รักและปกป้องสิ่งสร้าง. ในเวลานี้เมื่อความสัมพันธ์ของเรากับสิ่งสร้างๆไม่ดีพอ จริงไหม. นักบุญฟรังซิสเป็นบุรุษที่ให้จิตตารมณ์แห่งสันติภาพนี้และคนจน...ข้าพเจ้าขออวยพรพระศาสนจักรที่ยากจนและคนจน”

ข้าพเจ้าขอให้พวกท่านประสบสิ่งดีที่สุด ข้าพเจ้าขอขอบคุณพวกท่านสำหรับทุกสิ่งที่พวกท่านได้ทำ. และข้าพเจ้าคิดถึงงานของพวกท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาให้พวกท่านทำงานอย่างบังเกิดผลและให้มีความสงบใจเพื่อรู้จักพระวรสารของพระเยซูเจ้าและสภาพความเป็นจริงของพระศาสนจักรดียิ่งขึ้น. ข้าพเจ้าวางใจว่าพวกท่านจะวอนขอพระนางมารีย์พรหมจารีซึ่งเป็นดาวดาราแห่งการประกาศพระวรสาร. ข้าพเจ้าขอส่งปรารถนาดีแก่พวกท่านและครอบครัวของพวกท่าน ขออวยพรพวกท่านแต่ละครอบครัวด้วยสิ้นสุดจิตใจ”

รำพึงพระวาจาประจำวัน

วันจันทร์ สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 14:21-26) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า ”ผู้ที่มีบทบัญญัติของเรา และปฏิบัติตาม ผู้นั้นรักเรา และผู้ที่รักเรา พระบิดาของเราก็จะทรงรักเขา และเราเองก็จะรักเขา...
วันอาทิตย์ที่ 5 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 15:1-8) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า “เราเป็นเถาองุ่นที่แท้จริง และพระบิดาของเราทรงเป็นชาวสวน กิ่งก้านใดในเราที่ไม่เกิดผล พระองค์จะทรงตัดทิ้งเสีย กิ่งก้านใดที่เกิดผล พระองค์จะทรงลิด เพื่อให้เกิดผลมากขึ้น...
วันเสาร์ สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 14:7-14) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ถ้าท่านทั้งหลายรู้จักเรา ท่านก็รู้จักพระบิดาของเราด้วย บัดนี้ ท่านก็รู้จักพระบิดา และเห็นพระองค์แล้ว” ฟีลิปทูลว่า...

Don't be afraid

E-Book แผนกคริสตศาสนธรรม อัคสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สื่อการสอน เกมคำสอน เกมพระคัมภีร์ ออนไลน์

ความสุขแท้จริง 8 ประการ สำหรับครูคำสอน
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ สำหรับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก คุณค่าพระวรสาร คือ คุณค่าที่พระเยซูเจ้าสั่งสอน และเจริญชีวิตเป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน...
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
อุปมาเป็นเรื่องราวสั้นๆ ชวนคิด ที่พระเยซูเจ้าทรงเล่าให้ประชาชนฟัง เพื่อสอนพวกเขาเกี่ยวกับพระเจ้าและหนทางไปสวรรค์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง "คำสอนของพระเยซูเจ้า"
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง
แผนภูมิความรู้ ความสอนของพระเยซูเจ้า ความเชื่อและการรับศีลล้างบาป ความสุขแท้จริง การเป็นแบบอย่างที่ดี การรักศัตรู การภาวนา ความไว้วางใจในพระเจ้า...

คำสอนสำหรับเยาวชน YOUCAT

223. ศีลมหาสนิทเป็นการกระทำล่วงหน้าถึงชีวิตนิรันดรอย่างไร พระเยซูเจ้าทรงสัญญากับบรรดาศิษย์ของพระองค์ และกับเราพร้อมกับพวกท่านเหล่านั้นว่า สักวันหนึ่งเราจะมีที่นั่งที่โต๊ะกับพระองค์ ดังนั้นทุกๆมิสซาเป็น “การระลึกถึงพระทรมานอันทรงบุญ” (บทขอบพระคุณแบบที่ 1 ที่เรียกว่ากฎหมายโรมัน) ซึ่งเปี่ยมด้วยพระหรรษทาน และเป็นมัดจำของสิริรุ่งโรจน์ในอนาคต...
222. อาจโปรดศีลมหาสนิทให้กับผู้ที่มิใช่คริสตชนด้วยหรือ ศีลมหาสนิท เป็นการแสดงออกถึงความเป็นหนึ่งเดียวกันของพระกายของพระคริสตเจ้า การเป็นของพระศาสนจักรคาทอลิก บุคคลนั้นต้องได้รับศีลล้างบาปในพระศาสนจักร มีส่วนร่วมในความเชื่อของพระศาสนจักร ดำเนินชีวิตร่วมกันกับพระศาสนจักร จะเป็นความขัดแย้งกันถ้าพระศาสนจักรจะเชิญผู้ที่ยังไม่มีส่วนร่วมในความเชื่อ และยังไม่ดำเนินชีวิตตามพระศาสนจักรเข้ามารับศีลมหาสนิท จะเป็นความเสียหายของความน่าเชื่อถือของเครื่องหมายแห่งศีลมหาสนิท (1398...
221. ศีลมหาสนิทเปลี่ยนแปลงเราอย่างไร ทุกครั้งที่รับศีลมหาสนิทยิ่งทำให้ฉันเป็นหนึ่งเดียวกับพระคริสตเจ้าได้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น ทำให้ฉันเป็นสมาชิกที่มีชีวิตชีวาของพระกายพระคริสตเจ้า ฟื้นฟูพระหรรษทานที่ฉันได้รับในศีลล้างบาป และศีลกำลัง และสร้างป้อมปราการให้ฉันในการต่อสู้กับบาป (1391-1397,1416)

กิจกรรมพระคัมภีร์

ฟองอากาศ
ฟองอากาศ
ฟองอากาศ เรื่อง การคุยโว พระคัมภีร์ เยเรมีย์ 9:24 ภาพรวม เด็กๆ ได้รับประสบการณ์ในความไร้ประโยชน์ของการคุยโวเรื่องตนเอง และสิ่งสำคัญคือให้ความเชื่อถือในพระเจ้า อุปกรณ์ ขวดใส่น้ำที่ใช้เป่าเป็นฟองเท่าจำนวนเด็ก ประสบการณ์ แจกขวดใส่น้ำที่ใช้เป่าเป็นฟองให้แก่เด็กแต่ละคน ให้เวลาเด็กๆ เป่าฟอง 3 นาที โดยเป่าเท่าที่เขาคุยโวในสัปดาห์นี้ เช่น ฉันขี่จักรยานเป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ฉันเตะบอลชนะตลอด ฉันเป็นคนทำแต้มทุกครั้ง...
สัญญา สัญญา
สัญญา สัญญา
สัญญา สัญญา เรื่อง รักษาสัญญา พระคัมภีร์ ยากอบ 5:12 ภาพรวม ท้าทายเด็กแต่ละคนให้วิ่งผลัดเปลี่ยนกัน และมีประสบการณ์ถึงความยากลำบากของการรักษาสัญญาที่ไม่จริง อุปกรณ์ ถังน้ำ 1 ใบ ช้อน 1 อัน แก้วน้ำใบเล็กๆ ของรางวัลต่างๆ ประสบการณ์ แบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน...

ประมวลภาพกิจกรรม

พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
🙏 "เอฟฟาธา แปลว่า จงเปิดเถิด" 🙏 วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2024 แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัด "พิธีเอฟฟาธา" และฟื้นฟูจิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก และห้องประชุมชั้นใต้ดิน (สำนักมิสซัง) ในกฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย...
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
🎊 “ท่องโลกพระคัมภีร์”🎊 วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม 2024 ทีมคำสอนสัญจรได้ไปกิจกรรมพิเศษของค่ายคำสอนลูกแม่พระ ให้กับเด็กนักเรียนคำสอน วัดแม่พระฟาติมาดินแดง กว่า 50 คน ในหัวข้อ “ท่องโลกพระคัมภีร์” วันนี้ เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องราวความเป็นมาของพระคัมภีร์ตั้งแต่พันธสัญญาเดิมเรื่อยมาจนถึงพันธสัญญาใหม่ ผ่านทางวีดีโอ ควบคู่ไปกับการเติมคำในช่องว่าง และยังได้ทำกิจกรรมเพื่อช่วยให้จดจำชื่อหนังสือพระคัมภีร์ได้มากขึ้น...

สวดสายประคำ

สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น
สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น ตลอดประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรคาทอลิก พระสันตะปาปาและนักบุญจํานวนมากสนับสนุนให้สวดสายประคํา เมื่อเราเริ่มเข้าใจและซาบซึ้งในสายประคําและสวดบ่อยขึ้น เราจะเห็นความหมายที่แท้จริงของการรําพึงภาวนา เราเริ่มเห็นคุณค่าว่าคําภาวนานั้นไม่เพียงแต่ถึงพระนางมารีย์...
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ (The Rosary)การสวดบทภาวนาเดียวกันซ้ำหลายๆ ครั้ง เป็นวิธีปฏิบัติในบางศาสนา เพราะคิดว่าการสวดภาวนาซ้ำไปซ้ำมาจะได้ผลดีกว่า...

ช่วงเวลาสั้นๆ กับพระเจ้า

วงล้อ
พระเจ้าตรัสอะไรกับท่านในวันนี้ พระ​วาจา​ของ​พระองค์​เป็น​โคม​ส่อง​ทาง​ของ​ข้าพ​เจ้า เป็น​แสง​สว่าง​ส่อง​ทางเดิน​ให้​ข้าพ​เจ้า (สดด 119:105) ภาวนาวอนขอความสว่างจากพระองค์ แล้วหมุนวงล้อ...
วงล้อ พระวาจาหนุนใจในเหตุการณ์ต่างๆ ของชีวิต
ในชีวิตประจำวัน เราจะพบความเศร้า ความกลัว ปัญหา ความทุกข์ยาก ความไม่สบายใจ ความรู้สึกผิด ความหดหู่ ถูกทดลอง เจ็บป่วย...

คำถามที่เด็กๆ อยากรู้เกี่ยวกับพระเจ้า

Messiah
พระเมสสิยาห์ คำว่า พระเมสสิยาห์ เป็นภาษาฮีบรูที่ใช้เรียกพระคริสต์ ซึ่งเปลว่า...
Redeemer
พระผู้ไถ่ เป็นพระนามของพระเยซูคริสตเจ้า ที่หมายถึงว่า พระองค์สิ้นพระชนม์เพื่อไถ่เราให้รอดพ้นจากบาป
tomb
อุโมงค์ฝังศพ คือสถานที่ใช้ฝังศพผู้ตาย อุโมงค์ฝังพระศพของพระเยซูเจ้านั้นมีลักษณะเป็นโพรงหิน

ประวัตินักบุญ

29 เมษายน ระลึกถึงนักบุญ กาธารีนา แห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร
29 เมษายน ระลึกถึงนักบุญ กาธารีนา แห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร ( St. Catherine of Siena ;...
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร (St. Mark, Evangelist, feast) มีความเห็นพ้องต้องกันโดยทั่วไปว่า ชื่อของ มาระโก ที่มีกล่าวไว้ในหนังสือกิจการอัครสาวก...
25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์
วันที่ 25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ ( The Annunciation of the Lord, solemnity )...
19 มีนาคม  สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี
วันที่ 19 มีนาคม สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี (St. Joseph, Spouse of the Blessed Virgin...

CCBKK Channel

youtube1

Kamson TikTok

tiktok

Facebook CCBKK

วันละหนึ่งนาทีกับนักบุญโยเซฟ

St.Joseph 2021

คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ccc thai web

บทอ่านและบทมิสซา

ordomissae

พระคัมภีร์คาทอลิก

WOPTMR80W7YC0H90QTK7LZC1E1L2WM

บทเพลงศักดิ์สิทธิ์

angels-5b

วิชาคริสต์ศาสนา + จริยศึกษา

poster 2023 moral re

------------------------------------------

poster 2023 christianity re

สถิติเยี่ยมชม (22-2-2012)

วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
6182
14487
6182
315901
306218
36059623
Your IP: 3.129.70.157
2024-04-28 15:49

สถานะการเยี่ยมชม

มี 164 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์