แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

CATECHETICAL CENTER OF BANGKOK ARCHDIOCESE

thzh-CNenfritjako

สมณสภาเพื่อส่งเสริมการประกาศพระวรสารซึ่งจะรับผิดชอบงานสอนคำสอน

นครรัฐวาติกัน, 25 มกราคม 2013 (VIS)

     สมเด็จพระสันตะปาทรงลงพระนามในบทสรุป “ความเชื่อทางข้อความเชื่อ” ("Fides ต่อ doctrinam")  ในวันที่ 16 มกราคม 2513  และได้ตีพิมพ์วันนี้ พระองค์ทรงปรับความคิดนี้จากสังฆธรรมนูญด้านงานแพร่ธรรม “ชุมพาบาลแสนดี” ("Pastor bonus"), ในการถ่ายโอนหน้าที่ความรับผิดชอบงานสอนคำสอนจากสมณกระทรวงเพื่อชีวิตสงฆ์มาเป็นสมณสภาเพื่อส่งเสริมการประกาศพระวรสาร ตามข้อความที่ตัดตอนมาจากเอกสารดังต่อไปนี้

    สมเด็จพระสันตะปาปาทรงลิขิตว่า “ความเชื่อต้องได้รับการสนับสนุนจากข้อความเชื่อที่สามารถส่องสว่างจิตใจและดวงใจของผู้มีความเชื่อ. ช่วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ที่เจาะจงที่เรากำลังดำเนินชีวิตอยู่นี้ เน้นย้ำสิ่งอื่นที่เป็นวิกฤตที่น่าเร้าใจเกี่ยวกับความเชื่อ ต้องตระหนักถึงความรู้ที่สามารถตอบสนองต่อความคาดหวังอันสูงส่งที่เกิดขึ้นในดวงใจของผู้มีความเชื่อเมื่อเผชิญหน้ากับปัญหาใหญ่ที่ท้าทายโลกและ
พระศาสนจักร ดังนั้น การเข้าใจเรื่องความเชื่อต้องมีเนื้อหาที่แสดงออกด้วยภาษาใหม่ๆ, เราสามารถที่จะนำเสนอความหวังที่มีชีวิตของผู้มีความเชื่อต่อคนที่ตั้งคำถามได้

    ในวันครบรอบปีที่ 50 ของการเปิดประชุมสภาสังคายนาวาติกันที่ 2 ขณะที่พระศาสนจักรยังคงไตร่ตรองเกี่ยวกับความมั่งคั่งของคำสอนที่ประกอบด้วยเอกสารต่างๆที่เราใช้ค้นหาวิธีใหม่ๆของการนำคำสอนไปปฏิบัติ. เป็นไปได้ที่จะเห็นเส้นทางยาวที่ผ่านมาหลายสิบปีในเรื่องงานคำสอน. อย่างไรก็ตาม เป็นเส้นทางหนึ่งในหลายปีที่ติดตามสังคายนานี้ที่ไม่มีข้อผิดพลาดรวมทั้งข้อผิดร้ายแรงด้วย ทั้งในเรื่องวิธีการและเนื้อหา ทั้งหมดนี้ก่อให้เกิดการไตร่ตรองอย่างลึกซึ้งและนำไปสู่การพัฒนาเอกสารหลังสภาสังคายนาวาติกัน ซึ่งเป็นความมั่งคั่งใหม่ของงานคำสอน”

    คำสอนของสภาสังคายนาวาติกันของพระอาจาริยภาพที่ตามมา ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างธรรมประเพณีกับกระบวนการประกาศพระวรสารมากขึ้น. ดังนั้นงานคำสอนคือก้าวที่สำคัญของการประกาศพระวรสารในชีวิตประจำวันของพระศาสนจักร เป็นการประกาศและสื่อพระวาจาของพระเจ้าด้วยท่าทีที่มีประสิทธิภาพและมีชีวิตชีวา เพื่อว่าจะเข้าถึงทุกคนและผู้มีความเชื่อ ได้รับการฝึกฝนและรับการศึกษาในพระเยซูเจ้า เพื่อสร้างพระกายทิพย์ ซึ่งก็คือ พระศาสนจักร”

    การเขียนสมณลิขิตเพื่องานแพร่ธรรมในรูปบทสรุปของ “'Ubicumque et sempter' ลงวันที่ 21 กันยายน, 2010, ข้าพเจ้าได้ก่อตั้งสมณสภาเพื่อส่งเสริมการประกาศพระวรสารแบบใหม่เพื่อทำ “ปลายทั้งสองโดยการสนับสนุนให้มีการไตร่ตรองหัวข้อต่างๆของการประกาศพระวรสารแบบใหม่ และโดยการกำหนดเอกลักษณ์และส่งเสริมวิธีที่เหมาะสมและวิธีที่ทำให้สำเร็จ. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้าพเจ้าปรารถนาที่จะมอบงานเกี่ยวกับการส่งเสริม “การใช้การสอนคำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก ให้เป็นรูปแบบที่จำเป็นและรูปแบบสมบูรณ์ของเนื้อหาความเชื่อสำหรับผู้คนในสมัยของเรา” ไปสู่หน่วยงานใหม่”

    "ข้าพเจ้าเชื่อว่า ความคิดทั้งหมดเหมาะกับกาลเวลาที่ถือเป็นส่วนหนึ่งของสถาบันที่พึงใส่ใจ ในพระนามของสมเด็จพระสันตะปาปาในนิกายโรมัน สิ่งนี้เป็นเครื่องมือของการประกาศพระวรสาร ที่การสอนคำสอนพร้อมกับการสอนคำสอนในรูปแบบต่างๆ  ทำหน้าที่แทนพระศาสนจักร เพื่อก่อให้เกิดการเข้าถึงด้านงานอภิบาลที่มีประสิทธิภาพและเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทีเดียว. สภาสันตะสำนักใหม่จะสามารถทำให้พระศาสนจักรท้องถิ่นและพระสังฆราชท้องถิ่นได้ทำงานด้านนี้อย่างเหมาะสม”

    “ดังนั้น การยอมรับข้อตกลงที่หัวหน้าของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเสนอไปนั้น, ข้าพเจ้าตัดสินใจที่จะถ่ายโอนผู้มีความสามารถในงานคำสอนที่สังฆธรรมนูญด้านแพร่ธรรม “ชุมภาบาลแสนดี” มอบหมายให้สมณกระทรวงเพื่อชีวิตสงฆ์ลงวันที่ 28  มิถุนายน 1988,  แก่สมณสภาเพื่อส่งเสริมการประกาศพระวรสารแบบใหม่, ด้วยขอบเขตอำนาจเดียวกันในการปฏิบัติก่อนหน้าที่ฐานะสมณกระทรวงตามกฎหมายพระศาสนจักรกำหนดไว้. "

รำพึงพระวาจาประจำวัน

วันอังคาร สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 16:5-11) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสกับบรรดาศิษย์ว่า “บัดนี้เรากำลังไปเฝ้าพระองค์ผู้ทรงส่งเรามา ไม่มีผู้ใดถามเราว่า ‘พระองค์จะเสด็จไปไหน’ แต่เพราะเราได้บอกเรื่องเหล่านี้กับท่าน ใจของท่านจึงมีแต่ความทุกข์ เราบอกความจริงกับท่านทั้งหลายว่า...
วันจันทร์ สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 15:26-16:4ก) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสกับบรรดาศิษย์ว่า “เมื่อพระผู้ช่วยเหลือซึ่งเราจะส่งมาจากพระบิดา จะเสด็จมา คือพระจิตแห่งความจริง ผู้ทรงเนื่องมาจากพระบิดา พระองค์จะทรงเป็นพยานให้เรา ท่านทั้งหลายก็จะเป็นพยานให้เราด้วย...
วันอาทิตย์ที่ 6 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 15:9-17) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสกับบรรดาศิษย์ว่า “พระบิดาของเราทรงรักเราอย่างไร เราก็รักท่านทั้งหลายอย่างนั้น จงดำรงอยู่ในความรักของเราเถิด ถ้าท่านปฏิบัติตามบทบัญญัติของเรา ท่านก็จะดำรงอยู่ในความรักของเรา เหมือนกับที่เราปฏิบัติตามบทบัญญัติของพระบิดาของเรา และดำรงอยู่ในความรักของพระองค์...

Don't be afraid

E-Book แผนกคริสตศาสนธรรม อัคสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สื่อการสอน เกมคำสอน เกมพระคัมภีร์ ออนไลน์

ความสุขแท้จริง 8 ประการ สำหรับครูคำสอน
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ สำหรับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก คุณค่าพระวรสาร คือ คุณค่าที่พระเยซูเจ้าสั่งสอน และเจริญชีวิตเป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน...
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
อุปมาเป็นเรื่องราวสั้นๆ ชวนคิด ที่พระเยซูเจ้าทรงเล่าให้ประชาชนฟัง เพื่อสอนพวกเขาเกี่ยวกับพระเจ้าและหนทางไปสวรรค์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง "คำสอนของพระเยซูเจ้า"
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง
แผนภูมิความรู้ ความสอนของพระเยซูเจ้า ความเชื่อและการรับศีลล้างบาป ความสุขแท้จริง การเป็นแบบอย่างที่ดี การรักศัตรู การภาวนา ความไว้วางใจในพระเจ้า...

คำสอนสำหรับเยาวชน YOUCAT

226. เมื่อรับศีลล้างบาปเราคืนดีกับพระเจ้าแล้วทำไมจึงต้องมีศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการคืนดีอีก ศีลล้างบาปฉุดเราออกจากอำนาจของบาป ความตาย และนำเราสู่ชีวิตใหม่ สู่การเป็นบุตรของพระเจ้า แต่ไม่ได้ให้เราเป็นอิสระจากความอ่อนแอของมนุษย์ และความโน้มเอียงทางบาป ด้วยเหตุนี้เราจึงต้องการสถานที่ที่เราสามารถคืนดีกับพระเจ้าเรื่อยๆ สถานที่นั้นคือการสารภาพบาป (1425-1426) ดูเหมือนเป็นสิ่งไม่ทันสมัยในการไปสารภาพบาป...
225. ศีลอภัยบาปมีชื่อว่าอย่างไรบ้าง ศีลอภัยบาปยังมีชื่อเรียกอีกว่าศีลแห่งการคืนดี ศีลอภัยบาป ศีลแห่งการกลับใจ หรือศีลแห่งการสารภาพบาป (1422-1424, 1486)
224. ทำไมพระคริสตเจ้าจึงทรงมอบศีลอภัยบาปและศีลเจิมผู้ป่วยแก่เรา ความรักของพระคริสตเจ้าปรากฏในความจริงที่ว่าพระองค์ทรงแสวงหาผู้ที่หายไป และรักษาผู้เจ็บป่วย ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงทรงประทานศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการเยียวยารักษา และการบูรณะ ซึ่งทำให้เราเป็นอิสระจากบาป ทำให้ร่างกายและจิตใจของเราที่อ่อนแอเข้มแข็งขึ้น (1420-1421) 67

กิจกรรมพระคัมภีร์

ฟองอากาศ
ฟองอากาศ
ฟองอากาศ เรื่อง การคุยโว พระคัมภีร์ เยเรมีย์ 9:24 ภาพรวม เด็กๆ ได้รับประสบการณ์ในความไร้ประโยชน์ของการคุยโวเรื่องตนเอง และสิ่งสำคัญคือให้ความเชื่อถือในพระเจ้า อุปกรณ์ ขวดใส่น้ำที่ใช้เป่าเป็นฟองเท่าจำนวนเด็ก ประสบการณ์ แจกขวดใส่น้ำที่ใช้เป่าเป็นฟองให้แก่เด็กแต่ละคน ให้เวลาเด็กๆ เป่าฟอง 3 นาที โดยเป่าเท่าที่เขาคุยโวในสัปดาห์นี้ เช่น ฉันขี่จักรยานเป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ฉันเตะบอลชนะตลอด ฉันเป็นคนทำแต้มทุกครั้ง...
สัญญา สัญญา
สัญญา สัญญา
สัญญา สัญญา เรื่อง รักษาสัญญา พระคัมภีร์ ยากอบ 5:12 ภาพรวม ท้าทายเด็กแต่ละคนให้วิ่งผลัดเปลี่ยนกัน และมีประสบการณ์ถึงความยากลำบากของการรักษาสัญญาที่ไม่จริง อุปกรณ์ ถังน้ำ 1 ใบ ช้อน 1 อัน แก้วน้ำใบเล็กๆ ของรางวัลต่างๆ ประสบการณ์ แบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน...

ประมวลภาพกิจกรรม

ผู้หว่าน 8
ผู้หว่าน 8
🌾 ผู้หว่าน 8 🌾 วันที่ 2 พฤษภาคม 2024 ทีมคำสอนสัญจร แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้มีโอกาสไปแบ่งปันให้กับผู้ที่มาเข้าคอร์ส "ผู้หว่าน รุ่นที่ 8" จำนวน 14 คน ที่บ้านผู้หว่าน อำเภอสามพราน ในหัวข้อ...
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
🙏 "เอฟฟาธา แปลว่า จงเปิดเถิด" 🙏 วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2024 แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัด "พิธีเอฟฟาธา" และฟื้นฟูจิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก และห้องประชุมชั้นใต้ดิน (สำนักมิสซัง) ในกฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย...

สวดสายประคำ

สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น
สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น ตลอดประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรคาทอลิก พระสันตะปาปาและนักบุญจํานวนมากสนับสนุนให้สวดสายประคํา เมื่อเราเริ่มเข้าใจและซาบซึ้งในสายประคําและสวดบ่อยขึ้น เราจะเห็นความหมายที่แท้จริงของการรําพึงภาวนา เราเริ่มเห็นคุณค่าว่าคําภาวนานั้นไม่เพียงแต่ถึงพระนางมารีย์...
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ (The Rosary)การสวดบทภาวนาเดียวกันซ้ำหลายๆ ครั้ง เป็นวิธีปฏิบัติในบางศาสนา เพราะคิดว่าการสวดภาวนาซ้ำไปซ้ำมาจะได้ผลดีกว่า...

ช่วงเวลาสั้นๆ กับพระเจ้า

วงล้อ
พระเจ้าตรัสอะไรกับท่านในวันนี้ พระ​วาจา​ของ​พระองค์​เป็น​โคม​ส่อง​ทาง​ของ​ข้าพ​เจ้า เป็น​แสง​สว่าง​ส่อง​ทางเดิน​ให้​ข้าพ​เจ้า (สดด 119:105) ภาวนาวอนขอความสว่างจากพระองค์ แล้วหมุนวงล้อ...
วงล้อ พระวาจาหนุนใจในเหตุการณ์ต่างๆ ของชีวิต
ในชีวิตประจำวัน เราจะพบความเศร้า ความกลัว ปัญหา ความทุกข์ยาก ความไม่สบายใจ ความรู้สึกผิด ความหดหู่ ถูกทดลอง เจ็บป่วย...

คำถามที่เด็กๆ อยากรู้เกี่ยวกับพระเจ้า

Messiah
พระเมสสิยาห์ คำว่า พระเมสสิยาห์ เป็นภาษาฮีบรูที่ใช้เรียกพระคริสต์ ซึ่งเปลว่า...
Redeemer
พระผู้ไถ่ เป็นพระนามของพระเยซูคริสตเจ้า ที่หมายถึงว่า พระองค์สิ้นพระชนม์เพื่อไถ่เราให้รอดพ้นจากบาป
tomb
อุโมงค์ฝังศพ คือสถานที่ใช้ฝังศพผู้ตาย อุโมงค์ฝังพระศพของพระเยซูเจ้านั้นมีลักษณะเป็นโพรงหิน

ประวัตินักบุญ

1 พฤษภาคม  ระลึกถึง นักบุญโยเซฟ กรรมกร
1 พฤษภาคม ระลึกถึง นักบุญโยเซฟ กรรมกร (St Joseph the Worker, memorial) เมื่อวันที่ 1...
29 เมษายน ระลึกถึงนักบุญ กาธารีนา แห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร
29 เมษายน ระลึกถึงนักบุญ กาธารีนา แห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร ( St. Catherine of Siena ;...
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร (St. Mark, Evangelist, feast) มีความเห็นพ้องต้องกันโดยทั่วไปว่า ชื่อของ มาระโก ที่มีกล่าวไว้ในหนังสือกิจการอัครสาวก...
25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์
วันที่ 25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ ( The Annunciation of the Lord, solemnity )...

CCBKK Channel

youtube1

Kamson TikTok

tiktok

Facebook CCBKK

วันละหนึ่งนาทีกับนักบุญโยเซฟ

St.Joseph 2021

คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ccc thai web

บทอ่านและบทมิสซา

ordomissae

พระคัมภีร์คาทอลิก

WOPTMR80W7YC0H90QTK7LZC1E1L2WM

บทเพลงศักดิ์สิทธิ์

angels-5b

วิชาคริสต์ศาสนา + จริยศึกษา

poster 2023 moral re

------------------------------------------

poster 2023 christianity re

สถิติเยี่ยมชม (22-2-2012)

วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
973
10905
29115
75146
346070
36164938
Your IP: 18.227.190.93
2024-05-07 02:30

สถานะการเยี่ยมชม

มี 156 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์