แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

CATECHETICAL CENTER OF BANGKOK ARCHDIOCESE

thzh-CNenfritjako
สัญลักษณ์แห่งศาสนา

 

godisone-1024x768



ศาสนาคริสต์ : กางเขน
•    เครื่องหมายกางเขน เป็นสัญลักษณ์หลักความเชื่อคริสตชน พระเยซูเจ้าทรงกล่าวไว้ล่วงหน้าแล้วว่า พระองค์จะต้องรับทรมาน สิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน และกลับคืนพระชนมชีพเพื่อไถ่บาปมวลมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความสัมพันธ์อันดีกับพระเจ้า ทำให้ประตูสวรรค์เปิดอีกครั้งหนึ่ง กางเขนจึงเป็นเครื่องหมายแห่งการไถ่บาป เป็นเครื่องหมายแห่งการให้อภัยสิ้น เป็นเครื่องหมายแห่งการชนะบาปและความตาย และเป็นเครื่องหมายแห่งการกลับคืนชีพ

•    เครื่องหมายกางเขน เป็นสัญลักษณ์ที่เกิดมาจากการถูกตรึงกางเขนของพระเยซูเจ้าบนเนินเขากัลวารีโอ ซึ่งในสมัยนั้นการตรึงให้ตายบนไม้กางเขน จะใช้กับนักโทษประหารมีคดีร้ายแรง ถ้าในสมัยนี้ก็เหมือนกับถูกยิงเป้า หลายคนไม่เข้าใจความหมายแท้จริงของกางเขน จึงเห็นเป็นเพียงเครื่องประดับเท่านั้น
•    สัญลักษณ์กางเขนมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งบางแบบก็เอาความหมายจากพระคัมภีร์มาออกแบบ แต่ส่วนใหญ่ก็มาจากความนิยมของกลุ่มคริสตชนที่แตกต่างกันทางเชื้อชาติ เขตแคว้นหรือนิกาย เรามีสิทธิ์เลือกใช้ได้ตามใจชอบ แต่จะมีบางแบบที่สงวนไว้เฉพาะ เช่น กางเขนแบบพระสันตะปาปา ซึ่งจะมีแขนเป็นสามชั้นเรียงลำดับสั้นสุดลงมา กางเขนแบบนี้จะใช้ในขบวนเสด็จของพระสันตะปาปาเท่านั้น

ศาสนาพุทธ : ธรรมจักร
20091216_64500ธรรมจักร เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนพุทธศาสนา การนำเอาธรรมจักรมาใช้เป็นสัญลักษณ์นั้น เนื่องมาจากแนวความคิดที่ว่า พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระพุทธศาสนาครั้งแรกด้วยการแสดงพระธรรมเทศนาชื่อ “ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร” โปรดปัญจวัคคีย์

  • จากความหมายทางชื่อ พระธรรมเทศนาหมายถึง การนำธรรมะให้หมุนเคลื่อนไป เพื่อให้เข้าถึงหมู่สัตว์ ซึ่งเปรียบเหมือนวงล้อของราชรถ ที่นำพระราชาให้เสด็จเคลื่อนไป ทำให้เกิดการนำเอารูปธรรมจักรมาใช้เป็นสัญลักษณ์ โดยแกนของจักร หมายถึง นิพพาน ซี่ทั้งแปด คือ มรรคแปด และขอบที่เชื่อมซี่ทั้งแปด หมายถึง ความสมถะ

ศาสนาอิสลาม : ดาวและจันทร์เสี้ยว
1155356028ตามหลักการศาสนาอิสลาม ไม่ปรากฏสัญลักษณ์ประจำศาสนา แต่ในโลกปัจจุบันความคุ้นเคยกับดาวและจันทร์เสี้ยว ทำให้ทุกคนเข้าใจว่าดาวและจันทร์เสี้ยว คือสัญลักษณ์ของอิสลาม ซึ่งความเป็นจริงที่มาของดาวและจันทร์เสี้ยว พอสรุปได้ดังนี้คือ 1.    ในยุครุ่งเรืองของอารยธรรมออโตมาน (ค.ศ. 15-19) ได้คิดค้นสัญลักษณ์ธง เพื่อยกธงบอกถึงชัยชนะการทำสงคราม โดยเขียนพยัญชนะอารบิกตัว “นูน” มีรูปโค้งคล้ายจันทร์เสี้ยว ซึ่งมีคำเต็มว่า “นัซรุน” หมายถึง ชัยชนะ
2.    ยุคถัดมา มีบางกลุ่มเข้าใจว่าอักษรตัวนูนนั้นคือ เครื่องหมายจันทร์เสี้ยว จึงมีผู้คนนิยมนำรูปจันทร์เสี้ยวมาใช้
3.    อดีตถึงปัจจุบันโลกตะวันออกกลาง ได้นำสัญลักษณ์จันทร์เสี้ยวแดงมาใช้เป็นเครื่องหมายแทนเครื่องหมายกาชาด
4.    ตามหลักการอิสลาม อิบาดะห์บางอย่างได้ถูกกำหนดด้วยการดูจันทร์เสี้ยวเป็นจุดเริ่มต้น เช่น การถือศีลอด และดวงจันทร์ยังเป็นตัวกำหนดวันเริ่มเดือนใหม่ของปฏิทินอิสลาม

ข้อสรุป

  • ในหลักการศาสนาอิสลามไม่มีสัญลักษณ์หรือเครื่องหมาย
  • อนุญาตให้นำสัญลักษณ์ดาวและจันทร์เสี้ยวมาเป็นสัญลักษณ์ได้
  • ห้ามเคารพสักการะสัญลักษณ์ดาวและจันทร์เสี้ยว


ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู : โอม
aum01สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือ อักษรเทวนาครี อ่านว่า “โอม” ซึ่งย่อมาจากอักษร อ อุ และ ม หมายถึง เทพยิ่งใหญ่ทั้งสาม อักษร “อ” แทนพระวิษณุ อักษร “อุ” แทนพระวิศวะ และอักษร “ม” แทนพระพรหม สัญลักษณ์ดังกล่าวนี้บางครั้งเรียกว่า “สวัสดิหรือสวัสดิกะ”



ศาสนาซิกข์ : คันด้า (เครื่องหมายเกียรติยศ)

kan_da_0คันด้า คือ สัญลักษณ์ของชาวซิกข์ ประกอบด้วย กีรปาน (ดาบของชาวซิกข์) สองด้าม คันด้าตรงกลาง 1 อัน (ดาบลักษณะสองคม) และวงจักร (ห่วงกลม) กลมภายใน 1 ห่วง ดาบทั้งสองด้าม แสดงถึงความมีอำนาจอธิปไตยทั้งทางโลกและทางธรรมอย่างสมบูรณ์ วงจักร แสดงถึงความเป็นอมตะหนึ่งเดียวของพระผู้เป็นเจ้า ผู้ทรงสร้างให้กำเนิดสรรพสิ่ง ดาบสองคม แสดงถึงความเป็นผู้ริเริ่ม ฉะนั้นอำนาจอธิปไตย ความเป็นอมตะ (ของพระผู้เป็นเจ้า) และความเป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก คือสัญลักษณ์พื้นฐาน 3 ประการของความเป็นชนชาติซิกข์

ที่มา : หนังสือคู่มือศาสนสัมพันธ์

สื่อการสอน เกมคำสอน เกมพระคัมภีร์ ออนไลน์

สื่อคำสอน เรื่องอุปมาหรือนิทานเปรียบเทียบ
สื่อคำสอน เรื่องอุปมาหรือนิทานเปรียบเทียบ
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาหรือนิทานเปรียบเทียบ กิจกรรมที่ 1 แผนภูมิความรู้ เรื่องอุปมาหรือนิทานเปรียบเทียบ ประกอบด้วย บทพระวรสารเรื่องอุปมานั้นๆ และภาพประกอบ กิจกรรมที่ 2 แผนภาพที่มีป้ายกำกับ เรื่องอุปมา กิจกรรมที่ 3 ค้นหาคำ เรื่องอุปมา แผนภาพที่มีป้ายกำกับ เรื่องอุปมา...
สื่อคำสอน สมโภชพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า
สื่อคำสอน สมโภชพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง พระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า แผนภูมิความรู้ ประกอบด้วย วีดิทัศน์ พิธีบูชาขอบพระคุณและศีลมหาสนิท ตอนที่ 1-3 โดย คุณพ่อเชษฐา ไชยเดช ข้อคิด สมโภชพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า โดย คุณพ่อขวัญ ถิ่นวัลย์ วีดิทัศน์ วิธีและขั้นการการทำแผ่นปัง อารามกลาริส...
สื่อคำสอน เรื่องพระภารกิจของพระเยซูเจ้าในแคว้นกาลิลี
สื่อคำสอน เรื่องพระภารกิจของพระเยซูเจ้าในแคว้นกาลิลี
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง พระภารกิจของพระเยซูเจ้าในแคว้นกาลิลี กิจกรรมที่ 1 แผนภูมิความรู้ พระภารกิจต่างๆ ที่พระเยซูเจ้าทรงกระทำในแต่ละเมือง ในแคว้นกาลิลี กิจกรรมที่ 2 จับคู่ พระภารกิจของพระเยซูเจ้าในแคว้นกาลิลี กิจกรรมที่ 3 แบบทดสอบ พระภารกิจของพระเยซูเจ้าในแคว้นกาลิลี

รำพึงพระวาจาประจำวัน

วันอาทิตย์ สมโภชนักบุญเปโตรและเปาโล อัครสาวก บทอ่านจากพระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญมัทธิว (มธ 16:13-19) เวลานั้น พระเยซูเจ้าเสด็จมาถึงเขตเมืองซีซารียาแห่งฟีลิปและตรัสถามบรรดาศิษย์ว่า “คนทั้งหลายกล่าวว่าบุตรแห่งมนุษย์เป็นใคร” เขาทูลตอบว่า “บ้างกล่าวว่าเป็นยอห์นผู้ทำพิธีล้าง บ้างกล่าวว่าเป็นประกาศกเอลียาห์ บ้างกล่าวว่าเป็นประกาศกเยเรมีย์หรือประกาศกองค์ใดองค์หนึ่ง” พระองค์ตรัสกับเขาว่า “ท่านล่ะคิดว่าเราเป็นใคร” ซีโมน เปโตรทูลตอบว่า “พระองค์คือพระคริสตเจ้า พระบุตรของพระเจ้าผู้ทรงชีวิต”...
วันเสาร์ สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา บทอ่านจากพระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญมัทธิว (มธ 8:5-17) เวลานั้น เมื่อพระเยซูเจ้าเสด็จเข้าเมืองคาเปอรนาอุม นายร้อยคนหนึ่งเข้ามาเฝ้าพระองค์ ทูลอ้อนวอนว่า “พระองค์เจ้าข้า ผู้รับใช้ของข้าพเจ้าเป็นอัมพาตนอนอยู่ที่บ้าน ต้องทรมานอย่างสาหัส” พระเยซูเจ้าจึงตรัสกับเขาว่า “เราจะไปรักษาเขาให้หาย” แต่นายร้อยทูลตอบว่า “พระองค์เจ้าข้า ข้าพเจ้าไม่สมควรให้พระองค์เสด็จเข้ามาในบ้านของข้าพเจ้า...

ประชาสัมพันธ์

ประมวลภาพกิจกรรม

ชุมนุมฟื้นฟูจิตใจคริสตชน 2025
ชุมนุมฟื้นฟูจิตใจคริสตชน 2025
🕊 ชุมนุมฟื้นฟูจิตใจคริสตชน 2025 🕊 พิธีรับผู้ใหญ่เข้าเป็นคริสตชน เสนอให้มีงานฉลอง เพื่อแสดงการสิ้นสุดการสอนคำสอนแก่ คริสตชนใหม่ ในวันอาทิตย์สมโภชพระจิตเจ้า (RCIA 237) และเป็นโอกาสให้ผู้รับ ศีลล้างบาปปีก่อนหน้า มาชุมนุมกันอีกครั้งหนึ่ง เพื่อขอบคุณพระเจ้า แบ่งปันประสบการณ์ และรื้อฟื้นคำสัญญาแห่งศีลล้างบาป (RCIA 238) อีกทั้งบรรดาครูคำสอน...
คุณพ่อ Marcus Holden และคณะเซอร์ เยี่ยมเยียนแผนกฯ
คุณพ่อ Marcus Holden และคณะเซอร์ เยี่ยมเยียนแผนกฯ
"ยินดีต้อนรับ" วันศุกร์ที่ 23 พฤษภาคม 2025 แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้เปิดออฟฟิศต้อนรับ คุณพ่อ Marcus Holden และคณะเซอร์ ที่ได้มาเยี่ยมเยียนแผนกฯ คุณพ่อ Marcus Holden ทำงานอยู่ที่ประเทศอังกฤษ และช่วงนี้ท่านได้มาที่ประเทศไทย คณะเซอร์จึงได้พาคุณพ่อมาเยี่ยมและดูงานที่แผนกคำสอน โดยมีคุณพ่อทัศมะ กิจประยูร...

คำสอนสำหรับเยาวชน YOUCAT

335. สิ่งซึ่งพระบัญญัติในพันธสัญญาเดิมมีนั้นหมายความว่าอย่างไร ในพระบัญญัติ (โตราห์) และชิ้นที่สำคัญ คือ พระบัญญัติสิบประการ (บัญญัติ 10 ประการ)...
334. ความเชื่อมโยงระหว่างกฎธรรมชาติทางศีลธรรมและบัญญัติในพันธสัญญาเดิมคืออะไร บัญญัติในพันธสัญญาเดิมแสดงความจริงว่าโดยธรรมชาติจะเห็นได้ชัดเจนถึงเหตุผลของมนุษย์ซึ่งบัดนี้ได้รับการประกาศและรับรองความถูกต้องในฐานะบัญญัติของพระเจ้า (1961-1963, 1981)

กิจกรรมพระคัมภีร์

สวดสายประคำ

สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น
สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น ตลอดประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรคาทอลิก พระสันตะปาปาและนักบุญจํานวนมากสนับสนุนให้สวดสายประคํา เมื่อเราเริ่มเข้าใจและซาบซึ้งในสายประคําและสวดบ่อยขึ้น เราจะเห็นความหมายที่แท้จริงของการรําพึงภาวนา เราเริ่มเห็นคุณค่าว่าคําภาวนานั้นไม่เพียงแต่ถึงพระนางมารีย์ พระมารดาของพระเจ้าเท่านั้น แต่ยังภาวนาถึงพระคริสต์ด้วย โดยทางพระนางมารีย์ เราก้าวเข้าสู่ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับพระเยซูเจ้ามากขึ้น...

บทภาวนา (กิจกรรม)

สวดภาวนาอย่างไร
สวดภาวนาอย่างไร1. อยู่ที่ไหนสวดที่นั่น พระเจ้าอยู่ทุกหนแห่งและพร้อมที่จะฟังเสมอ2....
การภาวนาคืออะไร
การภาวนาคืออะไร การภาวนาคือ การพูดคุยกับพระเจ้า...
การฟังดนตรีที่ปราศจากเสียง
การฟังดนตรีที่ปราศจากเสียง บางครั้งเราเรียกการภาวนาว่าการพูดคุยกับพระเจ้า แต่ถ้าเป็นเช่นนั้น...

คำถามที่เด็กๆ อยากรู้เกี่ยวกับพระเจ้า

ฆราวาสผู้มีความเชื่อในพระคริสตเจ้า
CCC for Kids (คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำหรับเด็ก) # วันที่ 103 # II. ฆราวาสผู้มีความเชื่อในพระคริสตเจ้า (897-913) “ฆราวาส” ในศาสนาคริสต์คือคริสตชนทั่วไปที่ไม่ได้เป็นพระสงฆ์หรือนักบวช พวกเขาได้รับศีลล้างบาปและเป็นส่วนหนึ่งของพระศาสนจักร คริสตชนฆราวาสมีหน้าที่พิเศษในการช่วยเผยแผ่ศาสนาและทำให้โลกนี้ดีขึ้นตามคำสอนของพระเจ้า...
การสถาปนาพระฐานานุกรมของพระศาสนจักร
CCC for Kids (คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำหรับเด็ก) # วันที่ 102 # I. การสถาปนาพระฐานานุกรมของพระศาสนจักร (874-896) พระเยซูเจ้าทรงเป็นผู้ก่อตั้งพระศาสนจักรขึ้นมา พระองค์ทรงเลือกสาวก 12 คนให้เป็นผู้ช่วยประกาศข่าวดีและดูแลผู้มีความเชื่อ...

ประวัตินักบุญ

29 มิถุนายน  สมโภชนักบุญเปโตร และนักบุญเปาโล อัครสาวก
29 มิถุนายน สมโภชนักบุญเปโตร และนักบุญเปาโล อัครสาวก (SS. Peter and Paul, Apostles, solemnity) วันสมโภชนี้ พระศาสนจักรหวนกลับมาดูจุดกำเนิดของตน และเฉลิมฉลองความจำที่มีต่อบุคคลสำคัญสองท่าน ที่เป็นเหมือนแม่พิมพ์ให้กับชีวิตพระศาสนจักรในระยะเริ่มต้น ที่ยังคงไว้ซึ่งร่องรอยสำคัญที่ลบเลือนไม่ได้ในรากฐานและลักษณะเฉพาะ ทั้งสองท่านต่างกันโดยสิ้นเชิง (as different as...
28 มิถุนายน ระลึกถึง นักบุญ อีเรเนโอ พระสังฆราช และมรณสักขี
28 มิถุนายน ระลึกถึง นักบุญ อีเรเนโอ พระสังฆราช และมรณสักขี (St. Irenaeus, Bishop & Martyr, memorial) นักบุญอีเรเนโอ มีชีวิตอยู่ในช่วงราวปี ค.ศ. 130 - ค.ศ. 200...

E-Book แผนกคริสตศาสนธรรม อัคสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

Don't be afraid

Facebook CCBKK

CCBKK Channel

youtube1

Kamson TikTok

tiktok

พระคัมภีร์คาทอลิก

WOPTMR80W7YC0H90QTK7LZC1E1L2WM

บทเพลงศักดิ์สิทธิ์

angels-5b

บทอ่านและบทมิสซา

ordomissae

วันละหนึ่งนาทีกับนักบุญโยเซฟ

St.Joseph 2021

คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ccc thai web

คู่มือแนะแนวในการสอนคำสอน

ปก คู่มือแนะแนว

คู่มือเตรียมรับศีลมหาสนิท แบบที่ 1-2

ปก แบบที่ 2 01

ครอบครัว บ่อเกิดแห่งความเชื่อ

F cover fmaily

สถิติเยี่ยมชม (22-2-2012)

วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
1855
38774
1855
1047413
867929
44367656
Your IP: 216.73.216.180
2025-06-29 00:56

สถานะการเยี่ยมชม

มี 344 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์