ซิลวิลต้า กัตตอลิกา (CIVILTA CATTOLICA): รูปแบบใหม่, ภาคใหม่และเปิดตัวสู่อินเตอร์เน็ตและเครือข่ายทางสังคม

นครรัฐวาติกัน, 5 เมษายน 2013 (VIS)


เช้าวันนี้ ณ สำนักหนังสือพิมพ์ของสันตะสำนัก  มีการแถลงข่าวเพื่อนำเสนอการพิมพ์วารสารซิลวิลต้า กัตตอลิกา(CIVILTA CATTOLICA ) ของคณะสงฆ์เยสุอิต (อารยธรรมคาทอลิก) ซึ่งจัดพิมพ์เป็นภาษาอิตาเลียนจากโรม. พระอัครสังฆราช คลอดิโอ มาเรีย เชลลี ประธานสมณกระทรวงเพื่อการสื่อสารด้านสังคม, Msgr. Antoine Camilleri ปลัดสมณกระทรวง เพื่อความสัมพันธ์กับรัฐต่างๆ และคุณพ่อ อันโตนีโอ สปาดาโร เอส.เจ ผู้อำนวยการวารสารลา ซีวีลตา กัตโตลิกา".
คุณพ่อสปาดาโรอธิบายว่า “นิตยสารซิลวิลต้า กัตตอลิกา” เป็นวารสารเก่าแก่ที่สุดที่มีการตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องไม่ได้ขาด. ออกทุก 12 วันเป็นเวลา 163 ปี พิมพ์มากกว่า 100 หน้า. เป็นวารสารด้านวัฒนธรรมที่มีบทความที่พระสงฆ์คณะเยสุอิตเท่านั้นเขียน. บรรณาธิการเป็นผู้เชี่ยวชาญแต่พวกท่านใช้ภาษาที่ผู้อ่านที่ไม่ได้เป็น “ผู้เชี่ยวชาญ” ไม่เข้าใจ (ในหลายสาขาวิชา”)
“เราเริ่มมีการพิมพ์วารสารนี้ในปี 1850   แสวงหาการแบ่งปันประสบการณ์ด้านปัญญาที่ส่องสว่างด้วยความเชื่อและลงลึกในชีวิตด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง สุนทรียศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในยุคสมัยของเรา. ไม่เพียงแสวงหาการแบ่งปันการไตร่ตรองภายในโลกคาทอลิกเท่านั้น แต่แบ่งปันเรื่องเหล่านี้กับใครก็ได้ที่มองหาแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้  สามารถทำสิ่งหนึ่งและพัฒนาการตัดสินส่วนบุคคล...ตามธรรมประเพณีและเนื้อหาแล้ว วารสารนี้แสดงถึงรูปแบบ “ที่สูงส่ง” ของการพิมพ์นิตยสารด้านวัฒนธรรม, ซึ่งอยู่ภายในขอบเขตที่ยุ่งยาก....เราไม่ได้ตั้งใจที่จะเพียง“ติดตาม” และวิจารณ์เหตุการณ์ทางวัฒนธรรมเท่านั้น หรือเท่าที่เป็นไปได้ต้องจับความคิดที่จะเป็น, คาดคะเนแนวโน้มและเหตุการณ์ คาดการณ์ล่วงหน้าถึงผลกระทบ. และทำให้ผู้อ่านสนใจติดตาม” การคิดที่จะเปลี่ยนแปลงวารสารจะดำเนินต่อไป
คุณพ่อสปาดาโรให้สังเกตว่า “ตั้งแต่ ปี 1850 ถึง ปี 1933 บทความของวารสารไม่ถูกลงลายเซ็นเพื่อถ่ายทอดว่า พวกเขาไม่ได้แสดงออกในฐานะเป็นปัจเจกชน แต่กระทำในนามของประชาคมมากกว่า เรียกว่า "“คณะหรือกลุ่มผู้เขียน” ซึ่งจริงๆแล้วประกอบด้วยพระสงฆ์เยสุอิต  7  ท่าน.ปัจจุบันนี้ อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมของเราแตกต่างกันมากกว่าแต่ก่อน.ดังนั้น การใช้ลายเซ็นนานาชาติของพระสงฆ์เยสุอิต และจะเพิ่มหัวข้อ  แม้กระทั่ง วารสารจะยังคงเป็น “ผลิตใช้เอง” ภายใน “ห้องข่าว” ที่สร้างขึ้น
วารสารนี้ไม่เปลี่ยนแปลงรูปแบบตั้งแต่ปี 1970. นี่คือครั้งแรกในรอบ 193 ปีของวารสารที่วางรูปกราฟิกที่มุ่งสู่แปลนที่ออกแบบที่ประสานงานจริงและครอบคลุม..สู่เรื่องการมองเห็นเพื่อแท๊บเล็ต...เมื่อพูดถึงโครงสร้างแล้วภาครายงานจะหายไป เนื่องจากโลกของเรามีการรายงานในหนังสือพิมพ์รายวันหรือกระดานข่าวและทวีตรายงาน “ตามเวลาที่เกิดขึ้นจริง. นั่นคือการไตร่ตรอง การประเมินค่าด้วยวิจารณ์ การให้เหตุผล และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเร็วๆนี้  เนื่องจาก ภาคส่วน “ที่เน้น” ซึ่งจะประกอบด้วยบทความ ที่เกี่ยวโยงกับเหตุการณ์ด้านการเมือง เศรษฐศาสตร์ ในขั้นตอนนานาชาติ สังคม และกฎหมาย. การไตร่ตรองเกี่ยวกับพระศาสนจักรจะเป็นจุดคงที่ในหัวใจ. นั่นคือสิ่งสำคัญของวารสารนี้. จะเพิ่มส่วนใหม่ เช่น “ประวัติบุคคล” และ “การสัมภาษณ์” วารสารจะนำเสนอการเรียกดูบนแทบเล็ตพร้อมการใช้เพื่อไอแพด ไอโฟน แอนดรอยด์ Kindle Fire (ใช้ระบบปฏิบัติการ Android รุ่นปรับแต่งพิเศษ ) และวินโดว์ 8. ตอนนี้ อาจ เป็นไปได้ที่จะดาวน์โหลด 2 เรื่องสุดท้ายของวารสารได้เลย:  เรื่องสุดท้ายจากรุ่นเก่า และอันแรกของรุ่นใหม่”
“วันนี้ การติดต่อสื่อสารหมายถึง “การถ่ายทอด” ข่าวน้อยลง และ “แบ่งปัน” วิสัยทัศน์และความคิดอื่นๆมากขึ้น. นี่คือเหตุผลที่เนื้อหาของวารสารอยู่ในรูปแบบที่สำคัญของบทคัดย่อ “ ที่ “เปิดรับ” ต่อเครือข่ายสังคมเพื่อการใช้ การแบ่งปัน วิจารณ์และโต้เถียงในวิถีต่างๆที่ทำให้เป็นไปได้ในเรื่องนี้  ไม่ใช่ที่ทำงานของเราแต่ในเฟตบุ๊คและทวิตเตอร์”

"นอก จากนี้ ด้วยความร่วมมือจากกูเกิล โครงการเริ่มทำให้เรื่องทั้งหมดพิมพ์ตั้งแต่ปี 1850 จนถึง 2008  เข้าถึงเว็บได้. ความจริง กูเกิลทำให้หนังสือเป็นระบบดิจิตอลสำหรับโครงการหนังสือกูเกิล, ผ่านข้อตกลงกับห้องสมุดหลายแห่งในยุโรปและสหรัฐอเมริกา. บัดนี้ หนังสือหลายเล่มมีการจดลิขสิทธิ์ และบัดนี้ พร้อมที่จะนำไปใช้โดยขออนุญาตทำจากเรา”