แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

CATECHETICAL CENTER OF BANGKOK ARCHDIOCESE

thzh-CNenfritjako

สารทางวิดีทัศน์ของสมเด็จพระสันตะปาปาในการประชุมนานาชาติเกี่ยวกับเทววิทยาครั้งที่สองในบัวโนสไอเรส: จงเอาชนะการตัดขาดระหว่างเทววิทยาและงานอภิบาล
นครรัฐวาติกัน 4 กันยายน 2015 (VIS) – 
      เมื่อวานนี้ สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสส่งสารทางวิดีทัศน์ เพื่อเข้าร่วมในการ ประชุมนานาชาติครั้งที่สองเกี่ยวกับเทววิทยาในหัวข้อ "สภาสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง: ความทรงจำในปัจจุบันและมุมมอง" ซึ่งจัดขึ้นในบัวโนสไอเรส ระหว่างวันที่ 1-3  กันยายน 2015/2558 เพื่อรำลึกถึงวันครบรอบหนึ่งร้อยปีของคณะเทววิทยาที่มหาวิทยาลัยคาทอลิกแห่งอาร์เจนตินา (UCA) และครบรอบปีที่ห้าสิบของผลสรุปของการประชุมสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง. ข้อความที่ตัดตอนข้างล่างนี้ได้ตีพิมพ์เผยแพร่:
             "วันครบรอบของคณะเทววิทยาฉลองวุฒิภาวะของพระศาสนจักรท้องถิ่น. การฉลองชีวิต. เป็นการฉลองชีวิต,ประวัติศาสตร์และความเชื่อของประชากรแห่งพระเจ้า     ที่กำลังเดินทางบนโลกและแสวงหา “ความเข้าใจ' และ 'ความจริง' จากจุดยืนของพวกเขาเอง ... ดูเหมือนว่า มีความสำคัญมากที่จะเชื่อมโยงการประชุมนี้กับการครบรอบ 50 ปีของการปิดการประชุมสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง.ไม่มีพระศาสนจักรท้องถิ่นที่อยู่ต่างหาก ที่กล่าวว่าเป็นเจ้าของ และการตีความสภาพความเป็นจริงและการทำงานของพระจิตเจ้าเพียงอย่างเดียวด้วยตนเอง. ไม่มีชุมชนใดที่ผูกขาดในการตีความหรือ inculturation การปรับ/ประยุกต์พระวรสารเข้าสู่วิถีชีวิตท้องถิ่น  (inculturation ). อีกแง่หนึ่ง ไม่มีพระศาสนจักรสากลที่หันหนี  เพิกเฉยหรือปฏิเสธสถานการณ์ท้องถิ่นได้”.
 “และสิ่งนี้ทำให้เราคิดว่า มันจะไม่เหมือนกันในการเป็นคริสตชน ... ในประเทศอินเดีย,ในประเทศคานาดา,และในกรุงโรม. ดังนั้น งานหลักหนึ่งของนักเทววิทยาคือ การพิเคราะห์แยกแยะและไตร่ตรองของการเป็นคริสตชนในปัจจุบัน, ใน 'ที่นี่และตอนนี้'. แหล่งกำเนิดนั้นจัดการอย่างไร ที่จะทดน้ำเข้าดินแดนเหล่านี้ในปัจจุบันนี้,และเราจะเห็นและทำให้แหล่งกำเนิดเองมีชีวิตชีวาได้อย่างไร ... เพื่อเอาชนะการท้าทายนี้,เราจะต้องเอาชนะการประจญสองประการนี้ห้ได้ด้วยวิธีต่อไปนี้:
           ประการแรก,ตัดสินทุกสิ่งว่าผิด ... การคิดว่า “ทุกสิ่งจะดีกว่าในอดีตที่ผ่านมา', ที่กำลังมองหาที่หลบภัยในแนวคิดอนุรักษ์นิยมหรือการยึดทฤษฎี,หรือตรงกันข้าม, ทำให้ทุกสิ่งศักดิ์สิทธิ์,คุยโวว่าเป็นสิ่งที่ไม่มี “ความเอื้อเฟื้อใหม่”,เชื่อมโยงกับทุกปรีชาญาณในมรดกของพระศาสนจักรที่มั่งคั่งของเรา.   เส้นทางที่จะเอาชนะการประจญเหล่านี้ ขึ้นกับการไตร่ตรอง การพิเคราะห์แยกแยะ และการถือเป็นธรรมประเพณีของพระศาสนจักร และสภาพความเป็นจริงในปัจจุบันอย่างเอาจริงเอาจัง, ด้วยการเสวนาต่อกัน”
           "ไม่บ่อยนัก ที่มีความขัดแย้งระหว่างวิชาเทววิทยากับงานอภิบาล,ราวกับว่าทั้งสองวิชาขัดอย้งกัน,เป็นสภาพความเป็นจริงที่แยกกัน ที่ไม่เกี่ยวข้องกัน.  ไม่บ่อยครั้งที่เราไม่สร้างเอกลักษณ์ให้กับข้อความเชื่อ ด้วยแนวคิดอนุรักษ์นิยมและความคร้ำครึ . ตรงข้าม เรามีแนวโน้มที่จะคิดว่า งานอภิบาลเป็นเรื่องของการปรับประยุกต์ การลดขั้นตอนและการอำนวยความสะดวก. ราวกับว่า สองแขนงวิชาไม่เกี่ยวข้องกัน
   ความขัดแย้งปลอมจึงเกิดขึ้นระหว่างวิชาเทววิทยาและงานอภิบาล, ระหว่างการไตร่ตรองแบบคริสต์กับชีวิตคริสต์... ความพยายามที่จะเอาชนะการตัดขาดเด็ดขาดระหว่างเทววิทยาและงานอภิบาล,ระหว่างความเชื่อกับชีวิต,ความจริงเป็นผลงานหลักของสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง "
            "ข้าพเจ้าไม่สามารถมองข้ามพระดำรัสต่างๆของพระสันตะปาปายอห์น XXIII ในสุนทรพจน์เปิดการประชุมสภาสังคายนาวาติกัน,เมื่อพระองค์ตรัสว่า 'สาระของข้อความเชื่อโบราณของบรรทัดฐานความเชื่อเป็นสิ่งหนึ่ง; และวิธีการที่จะนำเสนอเป็นอีกสิ่งหนึ่ง." ... เราจะต้องหันกลับ...ไปหางานที่ลำบาก ในการแยกแยะสารที่มีอยู่จริง ออกจากการรูปแบบของการถ่ายทอด, จากองค์ประกอบด้านวัฒนธรรมที่ถูกถอดรหัสในเวลาที่กำหนด"
             "ไม่อนุญาตให้ใช้การพิเคราะห์แยกแยะ ไปสู่การทรยศของเนื้อหาของสาร.
             การขาดการใช้เทววิทยา ที่มุ่งสู่ภารกิจ ที่เราจะได้รับเชิญที่จะดำเนินการ.ข้อความเชื่อไม่ถูกปิด,ระบบความคิดส่วนตัวทำลายพลวัต ที่สามารถตั้งคำถามและข้อสงสัย.
           ในทางตรงกันข้าม ข้อความเชื่อคริสต์มีหน้า  ร่างกาย,เนื้อหนัง ได้รับเรียกว่าพระเยซูคริสตเจ้าและมันคือชีวิตของพระองค์  ที่มอบจากชนรุ่นหนึ่งไปสู่ชนอีกรุ่นหนึ่ง  มอบแก่มนุษย์ทุกคนและในทุกสถานที่. "

          คำถามที่คนถาม,ไม่ว่าความเจ็บปวด,ทะเลาะวิวาท,ความใฝ่ฝันของพวกเขา,การต่อสู้ของพวกเขา,ความกังวลเรื่องการตีอธิบาย    ที่เราไม่สามารถละเลย ถ้าหากเราจะใช้หลักการรับเนื้อหนังอย่างจริงจัง...
   การสร้างสูตรแห่งความเชื่อเกิดจากการเสวนา,เผชิญหน้า,การเปรียบเทียบ และการสัมผัสกับวัฒนธรรมที่แตกต่าง,ประเทศและชุมชนในสถานการณ์,เรียกร้อง ให้มีการไตร่ตรองเรื่องที่ไม่ชัดเจนมาก่อน.
          สำหรับคริสตชน, มีบางสิ่งที่น่าสงสัย เมื่อเราไม่จำเป็นที่จะรับคำวิพากษ์วิจารณ์จากคนอื่นอีกต่อไป. ขอบเขตต่างๆไม่เป็นตัวเลือก แต่จำเป็นสำหรับการเข้าใจความเชื่อดีขึ้น. จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะถามผู้ที่เรากำลังคิดถึง เมื่อเรารับผิดชอบวิชาเทววิทยา.เราอย่าลืมว่า พระจิตเจ้าประทับในคนที่สวดภาวนา นี่อหัวข้อของเทววิทยา.เทววิทยาที่ไม่ได้เกิดจากสิ่งนี้ จะเสนอสิ่งที่งดงาม แต่ไม่จริง.”
"ในเรื่องนี้,ข้าพเจ้าปรารถนาจะอธิบายสามลักษณะของเอกลักษณ์ของนักเทววิทยา

รำพึงพระวาจาประจำวัน

วันเสาร์ สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:60-69) เวลานั้น เมื่อศิษย์หลายคนได้ยินพระองค์ตรัสดังนี้ก็กล่าวว่า “ถ้อยคำนี้ขัดหูจริง ใครจะฟังได้” พระเยซูเจ้าทรงทราบด้วยพระองค์ว่าบรรดาศิษย์กำลังบ่นกันเรื่องนี้ จึงตรัสแก่เขาว่า “เรื่องนี้ทำให้ท่านเคลือบแคลงใจหรือ แล้วถ้าท่านจะเห็นบุตรแห่งมนุษย์กลับขึ้นสู่สถานที่ที่เคยอยู่แต่ก่อนเล่า...
วันศุกร์ สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:52-59) เวลานั้น ชาวยิวจึงเถียงกันว่า “คนนี้เอาเนื้อของตนให้เรากินได้อย่างไร” พระเยซูเจ้าตรัสตอบเขาว่า “เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ถ้าท่านไม่กินเนื้อของบุตรแห่งมนุษย์ และไม่ดื่มโลหิตของเขา ท่านจะไม่มีชีวิตในตนเอง...
วันพฤหัสบดี สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:44-51) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ไม่มีใครมาหาเราได้ นอกจากพระบิดาผู้ทรงส่งเรามาจะทรงชักนำเขา และเราจะทำให้เขากลับคืนชีพในวันสุดท้าย มีเขียนไว้ในหนังสือของบรรดาประกาศกว่า ทุกคนจะได้รับคำสอนจากพระเจ้า ทุกคนที่ได้ฟังพระบิดา...

Don't be afraid

E-Book แผนกคริสตศาสนธรรม อัคสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สื่อการสอน เกมคำสอน เกมพระคัมภีร์ ออนไลน์

สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ สำหรับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก คุณค่าพระวรสาร คือ คุณค่าที่พระเยซูเจ้าสั่งสอน และเจริญชีวิตเป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน...
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
อุปมาเป็นเรื่องราวสั้นๆ ชวนคิด ที่พระเยซูเจ้าทรงเล่าให้ประชาชนฟัง เพื่อสอนพวกเขาเกี่ยวกับพระเจ้าและหนทางไปสวรรค์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง "คำสอนของพระเยซูเจ้า"
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง
แผนภูมิความรู้ ความสอนของพระเยซูเจ้า ความเชื่อและการรับศีลล้างบาป ความสุขแท้จริง การเป็นแบบอย่างที่ดี การรักศัตรู การภาวนา ความไว้วางใจในพระเจ้า...
5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป V. 2023
5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป V. 2023
ดาวน์โหลดแผ่นพับ 5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป .pdf

คำสอนสำหรับเยาวชน YOUCAT

219. คริสตชนคาทอลิกต้องไปร่วมพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณบ่อยครั้งเพียงใด คริสตชนคาทอลิกมีพันธะผูกพันให้เข้าร่วมพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณทุกวันอาทิตย์ และวันฉลองบังคับ ผู้ใดที่แสวงหามิตรภาพกับพระเยซูเจ้าอย่างแท้จริง จะตอบรับการเชิญมาสู่งานเลี้ยงของพระเยซูเจ้าบ่อยที่สุดเท่าที่สามารถทำได้ (1389, 1417) ความจริงแล้วสำหรับคริสตชนแท้ “หน้าที่ในวันอาทิตย์” ไม่สมควรเป็นแค่การแสดงออกถึงภาระผูกพันเป็นดัง “การจุมพิตหน้าที่”...
218. วิธีที่ถูกต้องในการถวายเกียรติแด่องค์พระผู้เป็นเจ้าที่ทรงประทับอยู่ในแผ่นปังและเหล้าองุ่นคืออะไร เพราะพระเจ้าทรงประทับอยู่อย่างแท้จริงในรูปของปังและเหล้าองุ่นที่ได้การเสก เราต้องเก็บของถวายศักดิ์สิทธิ์นี้ด้วยความเคารพบูชาอย่างสูงสุด และกราบนมัสการองค์พระผู้เป็นเจ้าและพระผู้ไถ่กู้ของเราในศีลมหาสนิท (1378 -1381 ,1418) ถ้ามีแผ่นปังที่ได้รับการเสกเหลืออยู่จากพิธีมิสซาขอบพระคุณ ต้องเก็บรักษาไว้ในภาชนะศักดิ์สิทธิ์ในตู้ศีล เมื่อศีลมหาสนิทประทับอยู่ในตู้ศีล ตู้ศีลจึงเป็นสถานที่ที่เคารพที่สุดของวัด...
216. พระคริสตเจ้าทรงประทับอยู่ในพิธีมิสซาขอบพระคุณในวิธีใด พระคริสตเจ้าทรงเป็นพรธรรมล้ำลึกอย่างยิ่ง แต่ทรงประทับอยู่อย่างแท้จริงในศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งศีลมหาสนิท เนื่องจากพระศาสนจักรปฏิบัติตามคำสั่งของพระเยซูเจ้าที่ว่า “จงทำการนี้เพื่อระลึกถึงเราเถิด” (1 คร 11:24) การบิปังและการหยิบยื่นถ้วยกาลิกษ์ที่กระทำในทุกวันนี้ เป็นสิ่งเดียวที่เกิดขึ้นในครั้งนั้น เป็นพระคริสตเจ้าอย่างแท้จริงที่ทรงมอบพระองค์เองแก่เรา...

กิจกรรมพระคัมภีร์

เดินตามกฎ
เดินตามกฎ
เดินตามกฎ เรื่อง กฎต่างๆ พระคัมภีร์ โยชูวา 1:7-8 ภาพรวม เด็กๆ ปฏิบัติตามกฎต่างๆ ในเกม และเรียนรู้ถึงคุณค่าของการปฏิบัติตามกฎต่างๆ ในชีวิต อุปกรณ์ ปากกาเส้นใหญ่สีดำ เทปแถบกาว และกระดาษสีแดง 5 แผ่น สีเขียว 10 แผ่น วาดเครื่องหมายหยุดไว้บนกระดาษสีแดงแต่ละแผ่น และวาดลูกศรลงบนกระดาษสีเขียวแต่ละแผ่น ประสบการณ์ ให้เด็กๆ...
ดูซิ เห็นไหม
ดูซิ เห็นไหม
ดูซิ เห็นไหม เรื่อง ยืนยันต่อผู้อื่น พระคัมภีร์ สุภาษิต 16:24 ภาพรวม เด็กๆ พบสิ่งดีในผู้อื่นจากการเรียนรู้จักสิ่งดีในตนเอง อุปกรณ์ ทอฟฟี่ ดินสอ การ์ด 3 x 5 นิ้ว (2 เท่าของจำนวนเด็ก) ประสบการณ์ บอกเด็กๆ ว่าเรากำลังมองหาความดีในผู้อื่น ครูแจกดินสอและกระดาษการ์ด 3...

ประมวลภาพกิจกรรม

พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
🙏 "เอฟฟาธา แปลว่า จงเปิดเถิด" 🙏 วันเสาร์ที่ 8 เมษายน ค.ศ. 2023 แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัด "พิธีเอฟฟาธา" และฟื้นฟูจิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก และห้องประชุมชั้นใต้ดิน (สำนักมิสซัง) ในกฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย...
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
🎊 “ท่องโลกพระคัมภีร์”🎊 วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม 2024 ทีมคำสอนสัญจรได้ไปกิจกรรมพิเศษของค่ายคำสอนลูกแม่พระ ให้กับเด็กนักเรียนคำสอน วัดแม่พระฟาติมาดินแดง กว่า 50 คน ในหัวข้อ “ท่องโลกพระคัมภีร์” วันนี้ เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องราวความเป็นมาของพระคัมภีร์ตั้งแต่พันธสัญญาเดิมเรื่อยมาจนถึงพันธสัญญาใหม่ ผ่านทางวีดีโอ ควบคู่ไปกับการเติมคำในช่องว่าง และยังได้ทำกิจกรรมเพื่อช่วยให้จดจำชื่อหนังสือพระคัมภีร์ได้มากขึ้น...

สวดสายประคำ

สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น
สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น ตลอดประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรคาทอลิก พระสันตะปาปาและนักบุญจํานวนมากสนับสนุนให้สวดสายประคํา เมื่อเราเริ่มเข้าใจและซาบซึ้งในสายประคําและสวดบ่อยขึ้น เราจะเห็นความหมายที่แท้จริงของการรําพึงภาวนา เราเริ่มเห็นคุณค่าว่าคําภาวนานั้นไม่เพียงแต่ถึงพระนางมารีย์...
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ (The Rosary)การสวดบทภาวนาเดียวกันซ้ำหลายๆ ครั้ง เป็นวิธีปฏิบัติในบางศาสนา เพราะคิดว่าการสวดภาวนาซ้ำไปซ้ำมาจะได้ผลดีกว่า...

ช่วงเวลาสั้นๆ กับพระเจ้า

วงล้อ
พระเจ้าตรัสอะไรกับท่านในวันนี้ พระ​วาจา​ของ​พระองค์​เป็น​โคม​ส่อง​ทาง​ของ​ข้าพ​เจ้า เป็น​แสง​สว่าง​ส่อง​ทางเดิน​ให้​ข้าพ​เจ้า (สดด 119:105) ภาวนาวอนขอความสว่างจากพระองค์ แล้วหมุนวงล้อ...
วงล้อ พระวาจาหนุนใจในเหตุการณ์ต่างๆ ของชีวิต
ในชีวิตประจำวัน เราจะพบความเศร้า ความกลัว ปัญหา ความทุกข์ยาก ความไม่สบายใจ ความรู้สึกผิด ความหดหู่ ถูกทดลอง เจ็บป่วย...

คำถามที่เด็กๆ อยากรู้เกี่ยวกับพระเจ้า

Messiah
พระเมสสิยาห์ คำว่า พระเมสสิยาห์ เป็นภาษาฮีบรูที่ใช้เรียกพระคริสต์ ซึ่งเปลว่า...
Redeemer
พระผู้ไถ่ เป็นพระนามของพระเยซูคริสตเจ้า ที่หมายถึงว่า พระองค์สิ้นพระชนม์เพื่อไถ่เราให้รอดพ้นจากบาป
tomb
อุโมงค์ฝังศพ คือสถานที่ใช้ฝังศพผู้ตาย อุโมงค์ฝังพระศพของพระเยซูเจ้านั้นมีลักษณะเป็นโพรงหิน

ประวัตินักบุญ

25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร (St. Mark, Evangelist, feast) มีความเห็นพ้องต้องกันโดยทั่วไปว่า ชื่อของ มาระโก ที่มีกล่าวไว้ในหนังสือกิจการอัครสาวก...
25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์
วันที่ 25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ ( The Annunciation of the Lord, solemnity )...
19 มีนาคม  สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี
วันที่ 19 มีนาคม สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี (St. Joseph, Spouse of the Blessed Virgin...
17 มีนาคม  ระลึกถึงนักบุญปาตริก พระสังฆราช  (St. Patrick, Bishop, memorial)
วันที่ 17 มีนาคม ระลึกถึงนักบุญปาตริก พระสังฆราช (St. Patrick, Bishop, memorial) นักบุญปาตริกเป็นนักบุญยิ่งใหญ่และเป็นองค์อุปถัมภ์ของประเทศไอร์แลนด์ ท่านเป็นบุตรชายของ Calpurnius...

CCBKK Channel

youtube1

Kamson TikTok

tiktok

Facebook CCBKK

วันละหนึ่งนาทีกับนักบุญโยเซฟ

St.Joseph 2021

คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ccc thai web

บทอ่านและบทมิสซา

ordomissae

พระคัมภีร์คาทอลิก

WOPTMR80W7YC0H90QTK7LZC1E1L2WM

บทเพลงศักดิ์สิทธิ์

angels-5b

วิชาคริสต์ศาสนา + จริยศึกษา

poster 2023 moral re

------------------------------------------

poster 2023 christianity re

สถิติเยี่ยมชม (22-2-2012)

วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
22727
13335
66370
178888
306218
35922610
Your IP: 18.224.64.226
2024-04-19 23:18

สถานะการเยี่ยมชม

มี 617 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์