แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

CATECHETICAL CENTER OF BANGKOK ARCHDIOCESE

thzh-CNenfritjako

โป๊ปทรงปฏิรูปขั้นตอนการขอโมฆะต่อการแต่งงาน
สมณกฤษฎีกา 2 ฉบับ ชื่อ“พระเยซูเจ้าทรงเป็นผู้พิพากษาที่ทรงอ่อนโยน” (“Mitis Iudex Dominus Iesus” และ “พระเยซูเจ้าผู้ทรงอ่อนโยนและทรงพระเมตตา” (“Mitis et misericors Iesus”
นครรัฐวาติกัน 8 กันยายน 2015 (VIS)


สมเด็จพระสันตะปาปาทรงปฎิรูปกระบวนการของประมวลกฎหมายพระศาสนจักรเพื่อทำให้การแต่งงานเป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายพระศาสนจักรโรมันและประมวลกฎหมายพระศาสนจักรตะวันออก (the Code of Canon Law (CIC) and the Code of Canons of the Eastern Churches (CCEO)) ด้วยสมณลิขิตส่วนพระองค์ 2 ฉบับ ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวันนี้
               พระสมณกฤษฎีกาฉบับแรก ชื่อ“พระเยซูเจ้าผู้ทรงเป็นผู้พิพากษาที่อ่อนโยน” (“Mitis Iudex Dominus Iesus”
สมเด็จพระสันตะปาปาตรัสว่า “พระเยซูเจ้าผู้ทรงเป็นผู้พิพากษาที่ทรงพระเมตตา,นายชุมพาบาลสำหรับวิญญาณของเรา ทรงมอบอำนาจแห่งกุญแจ เพื่อเติมเต็มงานยุติธรรมและความจริงแก่อัครสาวกเปโตรและผู้สืบตำแหน่ง   อำนาจสากลสูงสุดที่ผูกมัดและสิ้นสุดที่นี่ เมื่อโลกยืนยัน,ร่วมมือและอธิบายว่า “นายชุมพาบาลของพระศาสนจักรท้องถิ่น,โดยพวกเขามีสิทธิอันศักดิ์สิทธิ์ทำหน้าที่ตัดสินผู้อยู่ใต้การปกครอง เฉพาะพระพักตร์พระเจ้า”
            พระองค์ตรัสต่อไปว่า "ตลอดหลายศตวรรษ สำหรับพระศาสนจักร เรื่องการแต่งงานนั้น เราต้องตระหนักอย่างชัดเจนเกี่ยวกับพระวาจาของพระคริสตเจ้า,ต้องทำความเข้าใจและอธิบายข้อความเชื่อเกี่ยวกับการประกาศโมฆะแห่งพันธะที่ศักดิ์สิทธิ์ระหว่างคู่สมรสในเชิงลึก, พัฒนาระบบเพื่อประกาศการลดขั้นตอนการทำเรื่องขอโมฆะกรรมการแต่งงาน,มีระเบียบข้อบังคับและกระบวนการพระศาสนจักร ที่เข้ากับความจริงของการยืนยันความเชื่อ”
              "เราทำทั้งหมดนี้กับกฎหมายสูงสุดแห่งความรอดของวิญญาณ   จึงเป็นแนวทาง ... ตระหนักถึงข้อความข้างต้น,ข้าพเจ้าต้องปฏิรูปกระบวนการประกาศโมฆะของการแต่งงานและเพื่อจุดประสงค์นี้ ข้าพเจ้าตั้งกลุ่มคนที่มีชื่อเสียง มีความสามารถในข้อความเชื่อทางกฎหมาย,ความสุขุมรอบคอบเชิงอภิบาลและประสบการณ์ทางศาล, ภายใต้คำแนะของอธิการบดีแห่งRoman Rota , ร่างแผนเพื่อปฏิรูป,โดยปราศจากอคติต่อหลักการของการประกาศโมฆะพันธะการแต่งงาน....กลุ่มนี้ได้มีการพัฒนากรอบงานสำหรับการปฏิรูปหลังจากพิจารณารอบคอบ ด้วยความช่วยเหลือของผู้เชี่ยวชาญอื่น ๆ,  ที่ได้ให้พื้นฐานสำหรับสมณกฤษฎีกา
           การขับเคลื่อนที่จะจุดไฟให้กับปฏิรูป โดยสัตบุรษจำนวนมาก ที่หวังความสงบและมโนธรรมของพวกเขา บ่อยครั้ง ถูกแยกจากโครงสร้างทางกฎหมายของหลายคริสตจักร เนื่องจากห่างไกลด้านศีลธรรมและร่างกาย นั่นคือ เมตตาธรรมและเมตตากรุณา ต้องการพระศาสนจักรเดิม ที่มีฐานะที่เป็นมารดา ใกล้ชิดกับบุตรหลาน”
“แนวทางมาจากการออกเสียงของส่วนใหญของบรรดาพระสังฆราช,ในการประชุมสมัชชาสภาพระสังฆราช สมัยวิสามัญที่เรียกร้องกระบวนการที่เข้าถึงง่ายขึ้น.ผสานกลมกลืนกับความปรารถนาของข้าพเจ้าที่จะอ้างถึงสมณกฤษฎีกา พวกเขาไม่ชอบการลดขั้นตอนการทำเรื่องขอโมฆะการแต่งงาน แต่ชอบเร่งความเร็วของขั้นตอน,พร้อมกับความเรียบง่าย เพื่อว่าหัวใจของสัตบุรุษที่รอการสร้างความกระจ่างของสถานะของพวกเขา ไม่ตกอยู่ในความมืดมนแห่งความสงสัย เนื่องจากการรอคอยบทสรุปที่ยืดเยื้อ”
              "ข้าพเจ้าขอดำเนินตามรอยเท้าของผู้ที่ข้าพเจ้าสืบตำแหน่ง,ที่ต้องการคะแนนเสียงส่วนใหญ่ของพี่น้องในสภาพระสังฆราช,ในการทำเรื่องขอโมฆะการแต่งงาน เพื่อผ่านกระบวนการศาลมากกว่าวิธีการบริหาร,ไม่ใช่เพราะลักษณะของสาระเรื่องนี้ แต่เพราะต้องปกป้องการขยายความจริงของพันธะอันศักดิ์สิทธิ์ให้เป็นไปได้,และนี่คือมั่นใจในการรับรองของระเบียบศาล”.
                  สมเด็จพระสันตะปาปาตรัสถึงมาตรการพื้นฐานที่เป็นแนวทางในการปฏิรูป
 "1.การบริหารจัดการให้มีการตัดสินคราวเดียว เรื่องการขอโมฆะการแต่งงาน: โดยไม่ต้องตัดสิน 2 ครั้งเพื่อประกาศการลด ขั้นตอนการทำเรื่องขอโมฆะกรรมการแต่งงาน  เพื่อทำให้คู่กรณีทำสัญญาแต่งงานที่ถูกต้องตามประมวลกฎหมายพระศาสนจักร,
จึงควรพิจารณาถึงจริยธรรมที่พอเพียงจากการตัดสินครั้งแรกตามกฎระเบียบก็เพียงพอแล้ว.
2. การตัดสินครั้งเดียวอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของพระสังฆราช: ผู้ตัดสินอาจเป็นผู้ได้รับศีลบวช พระสังฆราชรับผิดชอบด้านอภิบาลเป็นเบื้องต้น,ที่ใช้อำนาจตุลาการของเขาได้ จะต้องให้แน่ใจว่า การตัดสินครั้งก่อนไม่ได้อยู่ในรูปแบบของความหย่อนยานใดๆ
3. พระสังฆราชคนเดิมเป็นผู้พิพากษา ... พระสังฆราชในศาสนจักรของพระองค์ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นประมุขและนายชุมพาบาลของข้าพเจ้า ด้วยเหตุนี้ ผู้พิพากษาต้องซื่อสัตย์ต่อคนที่ได้รับมอบหมายให้ดูแล
                   ดังนั้น หวังว่าในสังฆมณฑลทั้งใหญ่น้อย พระสังฆราชคนเดิมจะเป็นสัญญาณของการกลับใจของโครงสร้างของพระศาสนจักร, ดีกว่าการมอบหน้าที่ตัดสินคดีกรณีแต่งงานแก่สำนักงานของคูเรีย. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ควรลดขั้นตอน ที่ทำให้แก้ปัญหาคดีการขอโมฆะเห็นได้ชัดเจนที่สุด "
4. การลดขั้นตอน: อันที่จริง นอกเหนือจากกระบวนการสำหรับการขอโมฆะที่กระชับแล้ว, ต้องกำหนดเป็นรูปแบบของกระบวนการที่สั้นกว่า - นอกเหนือไปจากขั้นตอนด้านเอกสารเช่นในปัจจุบัน – เพื่อนำมาใช้ในกรณีของบุคคลที่ขอให้การแต่งงานเป็นโมฆะ โดยได้รับการสนับสนุนจากการอภิปรายและการชี้แจงที่ชัดเจน”.
สมเด็จพระสันตะปาปาประทานข้อสังเกตว่า  "ขั้นตอนที่สั้นกว่าที่อาจเป็นอันตรายต่อหลักการขอโมฆะแก่การแต่งงาน, เพราะเหตุผลนี้ ข้าพเจ้าต้องการกระบวนการที่มีผู้พิพากษาที่เป็นพระสังฆราชเอง เนื่องจากเป็นงานอภิบาลของเขา ที่รับมาจากนักบุญเปโตร ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเอกภาพคาทอลิกในในความเชื่อและในระเบียบวินัย "
5. การอุทธรณ์ต่อผู้แทนระดับมหานคร (Metropolitan See) ต้องฟื้นฟูคณะผู้ปฏิบัติงาน สำหรับอุทธรณ์ผู้แทนระดับมหานคร,เนื่องจากเป็นตำแหน่งประมุขระดับแขวงของพระศาสนจักร (รวมหลายสังฆมณฑล),มีความมั่นคงมาหลายศตวรรษแล้ว, เป็นสัญญาณที่โดดเด่นของสมัชชาสภาพระสังฆราชของพระศาสนจักร
6. เหนือสิ่งอื่นใด ความสามารถของสมัชชาสภาพระสังฆราช: ซึ่งจะต้องขับเคลื่อนด้วยความปรารถนาการแพร่ธรรม เพื่อเข้าถึงสัตบุรุษที่หลงทาง,พวกเขาจะตระหนักถึงหน้าที่อย่างแรงกล้าที่จะมีส่วนร่วมในการกลับใจดังกล่าวข้างต้น,และเคารพสิทธิของพระสังฆราชอย่างเต็มที่ ที่จะจัดระเบียบอำนาจการตัดสินในพระศาสนจักรท้องถิ่นของพวกเขาเอง.... พร้อมกับความใกล้ชิดต่อผู้ตัดสินคดี,สภาพระสังฆราช (ระดับประเทศ),ขยายงานเท่าที่เป็นไปได้ มั่นใจในการกำหนดโทษของเจ้าหน้าที่ศาล,มั่นใจว่ากระบวนการมีอิสระ,เนื่องจากพระศาสนจักร เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับเรื่องความรอดของวิญญาณ, แสดงหน้าที่ตามกระบวนการศาลเพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการนี้แสดงให้เห็นถึงความรักกตัญญูต่อพระคริสตเจ้า ที่ทรงช่วยเราทุกคนให้รอดพ้น”
 7. การอุทธรณ์ต่อสันตะสำนัก: ทุกรูปแบบต้องมีความสะดวก, ในการอุทธรณ์ต่อ Roman Rota ซึ่งเป็นศาลปกติของสันตะสำนัก,นั่นคือ เคารพหลักการของศาลโบราณ  เพื่อเสริมสร้างพันธะระหว่างสันตะสำนักแห่งนักบุญเปโตรกับพระศาสนจักรท้องถิ่น,อย่างไรก็ตาม การใส่ใจในศิษย์ที่อุทธรณ์ ไปสู่การขจัดการละเมิดความถูกต้องใด ๆ เพื่อว่าจะไม่เกิดอันตรายต่อความรอดพ้นของวิญญาณ
            กฎของโรตาโรมันจะไม่ใช้เร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้กับกฎระเบียบของขั้นตอนการที่ได้รับการปฏิรูปแล้ว,ภายในขอบเขตของความจำเป็น
            ในประเด็นที่ 8 ที่สมเด็จพระสันตะปาปาตรัสกับ
พระศาสนจักรเฉพาะ และระเบียบของพระศาสนจักรตะวันออก,ขอกำหนดบรรทัดฐานเพื่อปฏิรูปขั้นตอนการแต่งงานที่แยกจากประมวลกฎหมายพระศาสนจักรของพระศาสนจักรตะวันออก
    สุดท้ายนี้, ข้าพเจ้าขอออกสมณกฤษฎีกาและกำหนดว่า ประมวลกฎหมายพระศาสนจักร บรรพ 3 (บรรพ 3,ลักษณะ 1  หมวด 1) เกี่ยวกับขั้นตอนการทำเรื่องขอโมฆะกรรมการแต่งงาน (มาตรา 1671-1691) จะใช้กับบรรทัดฐานใหม่ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2015/2558
              เมื่อกล่าวถึงพระศาสนจักรตะวันออกในสมณกฤษฎีกาชื่อ “พระเยซูเจ้าผู้ทรงอ่อนโยนและเมตตา” (“Mitis et misericors Iesus”) พระองค์ประทานข้อสังเกตว่า สมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ปอลที่ 2 ผู้ดำรงตำแหน่งก่อนหน้านี้ ที่ทรงริเริ่มกฎหมายพระศาสนจักรของพระศาสนจักรตะวันออก,ทรงยืนยันว่า “ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการเข้ารหัสประมวลกฎหมายของพระศาสนจักรตะวันออก,เจตจำนงของพระสันตะปาปาเพื่อเปิดกฎหมาย 2 ฉบับ,ฉบับหนึ่งของพระศาสนจักรโรมันคาทอลิก(ละติน),แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า กฎหมายของพระศาสนจักรตะวันออกปรารถนาที่จะรักษาสิ่งที่ได้เกิดขึ้นโดยพระญาณเอื้ออาทรในพระศาสนจักร, นั่นคือ สิ่งที่รวมตัวกันอีกครั้งโดยพระจิตเจ้า, พระศาสนจักรต้องหายใจด้วยปอดทั้งสองข้างของ
พระศาสนจักรตะวันออกและพระศาสนจักรตะวันตก,และการถูกแผดเผาไปกับพระเมตตาของพระคริสตเจ้า เหมือนกับหัวใจดวงเดียวกันที่ประกอบด้วยห้องหัวใจ 2 ห้อง”
         “การใช้เส้นทางเดิม,การเข้าสู่กฎระเบียบที่มีระเบียบวิธีของพระศาสนจักรตะวันออก, ข้าพเจ้าตัดสินใจที่จะแยกกฤษฎีกาออกจากบรรทัดฐาน  เพื่อปฏิรูประเบียบขั้นตอนการแต่งงานในกฎหมายพระศาสนจักรของพระศาสนจักรตะวันออกด้วย
          สมเด็จพระสันตะปาปายังทรงเน้นความสำคัญของศาสนบริการของพระสังฆราช,และทรงอ้างคำสอนของพระศาสนจักรตะวันออก, "ผู้ตัดสินคดีและแพทย์,ให้บริการมนุษย์,ที่บาดเจ็บและพลาดล้ม,เนื่องมาจากบาปกำเนิดและบาปส่วนบุคคลของเขาเอง,ความรู้สึกสะอิดสะเอียนและได้รับการรักษาแห่งการชดเชยบาป จะได้รับการเยียวยาและการให้อภัยจากพระเจ้า,และพวกเขาคืนดีกับพระศาสนจักร. อันที่จริง พระสังฆราชเป็นบุคคลที่พระจิตเจ้าทรงแต่งตั้งให้เป็นโฉมพระพักตร์ของพระคริสตเจ้าและกระทำพันธกิจแทนพระองค์,เป็นศาสนบริกรแรกและสำคัญที่สุดแห่งพระเมตตาของพระเจ้า "
           สมเด็จพระสันตะปาปาตรัสในการประชุมสมัชชาพระสังฆราชของพระศาสนจักรตะวันออกเพื่อทรงแนะนำสมณกฤษฎีกาชื่อ “พระเยซูเจ้าผู้ทรงอ่อนโยนและเมตตา” (“Mitis et misericors Iesus”)      ซื่งทรงแนะนำชื่อนี้กับสมัชชาสภาพระสังฆราช.
               สุดท้ายนี้ ข้าพเจ้าขอออกกฤษฎีกา  ที่กำหนดในลักษณะที่ 26 ของกฎหมายพระศาสนจักรของพระศาสนจักรตะวันออก (บรรพ 1,ลักษณะ 1).กรณีการขอโมฆะแก่การแต่งงาน, (กฎหมายพระศาสนจักรมาตรา 1357-1377) มีบรรทัดฐานใหม่มาแทนทั้งหมด มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2015/2558

รำพึงพระวาจาประจำวัน

วันศุกร์ สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:52-59) เวลานั้น ชาวยิวจึงเถียงกันว่า “คนนี้เอาเนื้อของตนให้เรากินได้อย่างไร” พระเยซูเจ้าตรัสตอบเขาว่า “เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ถ้าท่านไม่กินเนื้อของบุตรแห่งมนุษย์ และไม่ดื่มโลหิตของเขา ท่านจะไม่มีชีวิตในตนเอง...
วันพฤหัสบดี สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:44-51) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ไม่มีใครมาหาเราได้ นอกจากพระบิดาผู้ทรงส่งเรามาจะทรงชักนำเขา และเราจะทำให้เขากลับคืนชีพในวันสุดท้าย มีเขียนไว้ในหนังสือของบรรดาประกาศกว่า ทุกคนจะได้รับคำสอนจากพระเจ้า ทุกคนที่ได้ฟังพระบิดา...
วันพุธ สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:35-40) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสกับเขาว่า “เราเป็นปังแห่งชีวิต ผู้ที่มาหาเราจะไม่หิว และผู้ที่เชื่อในเราจะไม่กระหายอีกเลย เราบอกท่านทั้งหลายแล้วว่า ท่านเห็นเราแล้ว แต่ไม่เชื่อ...

Don't be afraid

E-Book แผนกคริสตศาสนธรรม อัคสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สื่อการสอน เกมคำสอน เกมพระคัมภีร์ ออนไลน์

สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ สำหรับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก คุณค่าพระวรสาร คือ คุณค่าที่พระเยซูเจ้าสั่งสอน และเจริญชีวิตเป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน...
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
อุปมาเป็นเรื่องราวสั้นๆ ชวนคิด ที่พระเยซูเจ้าทรงเล่าให้ประชาชนฟัง เพื่อสอนพวกเขาเกี่ยวกับพระเจ้าและหนทางไปสวรรค์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง "คำสอนของพระเยซูเจ้า"
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง
แผนภูมิความรู้ ความสอนของพระเยซูเจ้า ความเชื่อและการรับศีลล้างบาป ความสุขแท้จริง การเป็นแบบอย่างที่ดี การรักศัตรู การภาวนา ความไว้วางใจในพระเจ้า...
5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป V. 2023
5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป V. 2023
ดาวน์โหลดแผ่นพับ 5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป .pdf

คำสอนสำหรับเยาวชน YOUCAT

218. วิธีที่ถูกต้องในการถวายเกียรติแด่องค์พระผู้เป็นเจ้าที่ทรงประทับอยู่ในแผ่นปังและเหล้าองุ่นคืออะไร เพราะพระเจ้าทรงประทับอยู่อย่างแท้จริงในรูปของปังและเหล้าองุ่นที่ได้การเสก เราต้องเก็บของถวายศักดิ์สิทธิ์นี้ด้วยความเคารพบูชาอย่างสูงสุด และกราบนมัสการองค์พระผู้เป็นเจ้าและพระผู้ไถ่กู้ของเราในศีลมหาสนิท (1378 -1381 ,1418) ถ้ามีแผ่นปังที่ได้รับการเสกเหลืออยู่จากพิธีมิสซาขอบพระคุณ ต้องเก็บรักษาไว้ในภาชนะศักดิ์สิทธิ์ในตู้ศีล เมื่อศีลมหาสนิทประทับอยู่ในตู้ศีล ตู้ศีลจึงเป็นสถานที่ที่เคารพที่สุดของวัด...
216. พระคริสตเจ้าทรงประทับอยู่ในพิธีมิสซาขอบพระคุณในวิธีใด พระคริสตเจ้าทรงเป็นพรธรรมล้ำลึกอย่างยิ่ง แต่ทรงประทับอยู่อย่างแท้จริงในศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งศีลมหาสนิท เนื่องจากพระศาสนจักรปฏิบัติตามคำสั่งของพระเยซูเจ้าที่ว่า “จงทำการนี้เพื่อระลึกถึงเราเถิด” (1 คร 11:24) การบิปังและการหยิบยื่นถ้วยกาลิกษ์ที่กระทำในทุกวันนี้ เป็นสิ่งเดียวที่เกิดขึ้นในครั้งนั้น เป็นพระคริสตเจ้าอย่างแท้จริงที่ทรงมอบพระองค์เองแก่เรา...
215. ใครเป็นหัวหน้าของพิธีมิสซาขอบพระคุณ ตามความเป็นจริงองค์พระคริสตเจ้าเองทรงปฏิบัติการในทุกพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ พระสังฆราช หรือพระสงฆ์ พูดแทนพระองค์ (1348) เป็นความเชื่อของพระศาสนจักร ว่าผู้ประกอบพิธีที่ยืนอยู่บนพระแท่นปฏิบัติหน้าที่ in persona Christi...

กิจกรรมพระคัมภีร์

เดินตามกฎ
เดินตามกฎ
เดินตามกฎ เรื่อง กฎต่างๆ พระคัมภีร์ โยชูวา 1:7-8 ภาพรวม เด็กๆ ปฏิบัติตามกฎต่างๆ ในเกม และเรียนรู้ถึงคุณค่าของการปฏิบัติตามกฎต่างๆ ในชีวิต อุปกรณ์ ปากกาเส้นใหญ่สีดำ เทปแถบกาว และกระดาษสีแดง 5 แผ่น สีเขียว 10 แผ่น วาดเครื่องหมายหยุดไว้บนกระดาษสีแดงแต่ละแผ่น และวาดลูกศรลงบนกระดาษสีเขียวแต่ละแผ่น ประสบการณ์ ให้เด็กๆ...
ดูซิ เห็นไหม
ดูซิ เห็นไหม
ดูซิ เห็นไหม เรื่อง ยืนยันต่อผู้อื่น พระคัมภีร์ สุภาษิต 16:24 ภาพรวม เด็กๆ พบสิ่งดีในผู้อื่นจากการเรียนรู้จักสิ่งดีในตนเอง อุปกรณ์ ทอฟฟี่ ดินสอ การ์ด 3 x 5 นิ้ว (2 เท่าของจำนวนเด็ก) ประสบการณ์ บอกเด็กๆ ว่าเรากำลังมองหาความดีในผู้อื่น ครูแจกดินสอและกระดาษการ์ด 3...

ประมวลภาพกิจกรรม

พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
🙏 "เอฟฟาธา แปลว่า จงเปิดเถิด" 🙏 วันเสาร์ที่ 8 เมษายน ค.ศ. 2023 แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัด "พิธีเอฟฟาธา" และฟื้นฟูจิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก และห้องประชุมชั้นใต้ดิน (สำนักมิสซัง) ในกฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย...
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
🎊 “ท่องโลกพระคัมภีร์”🎊 วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม 2024 ทีมคำสอนสัญจรได้ไปกิจกรรมพิเศษของค่ายคำสอนลูกแม่พระ ให้กับเด็กนักเรียนคำสอน วัดแม่พระฟาติมาดินแดง กว่า 50 คน ในหัวข้อ “ท่องโลกพระคัมภีร์” วันนี้ เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องราวความเป็นมาของพระคัมภีร์ตั้งแต่พันธสัญญาเดิมเรื่อยมาจนถึงพันธสัญญาใหม่ ผ่านทางวีดีโอ ควบคู่ไปกับการเติมคำในช่องว่าง และยังได้ทำกิจกรรมเพื่อช่วยให้จดจำชื่อหนังสือพระคัมภีร์ได้มากขึ้น...

สวดสายประคำ

สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น
สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น ตลอดประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรคาทอลิก พระสันตะปาปาและนักบุญจํานวนมากสนับสนุนให้สวดสายประคํา เมื่อเราเริ่มเข้าใจและซาบซึ้งในสายประคําและสวดบ่อยขึ้น เราจะเห็นความหมายที่แท้จริงของการรําพึงภาวนา เราเริ่มเห็นคุณค่าว่าคําภาวนานั้นไม่เพียงแต่ถึงพระนางมารีย์...
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ (The Rosary)การสวดบทภาวนาเดียวกันซ้ำหลายๆ ครั้ง เป็นวิธีปฏิบัติในบางศาสนา เพราะคิดว่าการสวดภาวนาซ้ำไปซ้ำมาจะได้ผลดีกว่า...

ช่วงเวลาสั้นๆ กับพระเจ้า

วงล้อ
พระเจ้าตรัสอะไรกับท่านในวันนี้ พระ​วาจา​ของ​พระองค์​เป็น​โคม​ส่อง​ทาง​ของ​ข้าพ​เจ้า เป็น​แสง​สว่าง​ส่อง​ทางเดิน​ให้​ข้าพ​เจ้า (สดด 119:105) ภาวนาวอนขอความสว่างจากพระองค์ แล้วหมุนวงล้อ...
วงล้อ พระวาจาหนุนใจในเหตุการณ์ต่างๆ ของชีวิต
ในชีวิตประจำวัน เราจะพบความเศร้า ความกลัว ปัญหา ความทุกข์ยาก ความไม่สบายใจ ความรู้สึกผิด ความหดหู่ ถูกทดลอง เจ็บป่วย...

คำถามที่เด็กๆ อยากรู้เกี่ยวกับพระเจ้า

Messiah
พระเมสสิยาห์ คำว่า พระเมสสิยาห์ เป็นภาษาฮีบรูที่ใช้เรียกพระคริสต์ ซึ่งเปลว่า...
Redeemer
พระผู้ไถ่ เป็นพระนามของพระเยซูคริสตเจ้า ที่หมายถึงว่า พระองค์สิ้นพระชนม์เพื่อไถ่เราให้รอดพ้นจากบาป
tomb
อุโมงค์ฝังศพ คือสถานที่ใช้ฝังศพผู้ตาย อุโมงค์ฝังพระศพของพระเยซูเจ้านั้นมีลักษณะเป็นโพรงหิน

ประวัตินักบุญ

25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์
วันที่ 25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ ( The Annunciation of the Lord, solemnity )...
19 มีนาคม  สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี
วันที่ 19 มีนาคม สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี (St. Joseph, Spouse of the Blessed Virgin...
17 มีนาคม  ระลึกถึงนักบุญปาตริก พระสังฆราช  (St. Patrick, Bishop, memorial)
วันที่ 17 มีนาคม ระลึกถึงนักบุญปาตริก พระสังฆราช (St. Patrick, Bishop, memorial) นักบุญปาตริกเป็นนักบุญยิ่งใหญ่และเป็นองค์อุปถัมภ์ของประเทศไอร์แลนด์ ท่านเป็นบุตรชายของ Calpurnius...
22 กุมภาพันธ์  ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตรอัครสาวก
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตรอัครสาวก (Chair of Saint Peter, the Apostle, feast) "เราบอกท่านว่า...

CCBKK Channel

youtube1

Kamson TikTok

tiktok

Facebook CCBKK

วันละหนึ่งนาทีกับนักบุญโยเซฟ

St.Joseph 2021

คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ccc thai web

บทอ่านและบทมิสซา

ordomissae

พระคัมภีร์คาทอลิก

WOPTMR80W7YC0H90QTK7LZC1E1L2WM

บทเพลงศักดิ์สิทธิ์

angels-5b

วิชาคริสต์ศาสนา + จริยศึกษา

poster 2023 moral re

------------------------------------------

poster 2023 christianity re

สถิติเยี่ยมชม (22-2-2012)

วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
1599
13335
45242
157760
306218
35901482
Your IP: 3.145.130.31
2024-04-19 02:45

สถานะการเยี่ยมชม

มี 184 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์