แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

CATECHETICAL CENTER OF BANGKOK ARCHDIOCESE

thzh-CNenfritjako

บทสัมภาษณ์สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสในนิตยสารคณะสงฆ์เยสุอิต
นครรัฐวาติกัน, 20 กันยายน 2013 ( VIS )

         สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสได้ประทานบทสัมภาษณ์ที่ตีพิมพ์ในนิตยสารคณะสงฆ์เยสุอิตฉบับภาษาอิตาลี "ลา ชีวีลตา  คาตโตลิคา" (La Civilta Cattolica)  และนิตยสาร 16 ฉบับที่เป็นเครือข่ายกับคณะสงฆ์เยสุอิตทั่วโลก.  บทสัมภาษณ์เป็นผลมาจาก การพบปะเป็นส่วนบุคคลและการอภิปรายกว่า 6 ชั่วโมงระหว่างสมเด็จพระสันตะปาปากับคุณพ่อ อันโตนิโอ สปาดาดาโร (Fr. Antonio Spadaro) บรรณาธิการของ "Civilta Cattolica", ในช่วงเดือนสิงหาคม ณ บ้านพักรับรองซานตามาร์ตา

        บทสัมภาษณ์ยาวกว่า 30 หน้า สมเด็จพระสันตะปาปาตรัสอย่างตรงไปตรงมาเกี่ยวกับพระองค์ท่าน รสนิยมด้านศิลปะและวรรณกรรม  ( Dostoyevsky และ Holderlin , Borges and Cervantes, Caravaggio และ Chagall) แต่ยังรวมถึง  "La Strada " Rossellini”ของเฟลลีนี่, "งานเลี้ยงของ Babette" โมสาร์ท และ "Tetralogy" ของวาคเนอร์ ) และประสบการณ์ของพระองค์ในคณะสงฆ์เยสุอิตและการเป็นพระอัครสังฆราชแห่งบัวโนสไอเรส. พระองค์เรียกพระองค์เองว่า  "คนบาป. นี่คือ คำนิยามที่ถูกต้องมากที่สุด. ไม่ใช่บุคคลแห่งสุนทรพจน์ คนรักวรรณกรรม พ่อเป็นคนบาป "


     เมื่อกล่าวถึงช่วงเวลาที่พระองค์ทรงเป็นเจ้าคณะแขวงของคณะสงฆ์เยสุอิต พระองค์ตรัสว่า “สิทธิอำนาจและการตัดสินใจอย่างรวดเร็วทำให้พ่อพบปัญหาร้ายแรงและถูกกล่าวหาว่าเป็นนักอนุรักษ์นิยมอย่างมาก”.  อย่างไรก็ตาม ในขณะที่เป็นพระอัครสังฆราช  ประสบการณ์นี้ช่วยให้พระองค์เข้าพระทัย ความสำคัญของการฟังทัศนคติของผู้อื่น "พ่อเชื่อว่า การให้คำปรึกษาเป็นสิ่งสำคัญมาก. ยกตัวอย่าง คณะพระคาร์ดินัลและสภาพระสังฆราชเป็นสถาบันที่สำคัญต่อการให้คำปรึกษาอย่างแท้จริง. อย่างไรก็ตาม ขอให้พวกเขามีรูปแบบที่เข้มงวดน้อยลง"

                   พระองค์ตรัสถึงวิธีการฝึกอบรมแบบเยสุอิต และโดยเฉพาะกระบวนการของการพิเคราะห์แยกแยะ เพราะสามารถทำให้พระองค์ทำศาสนบริการได้ดีขึ้น. “ยกตัวอย่าง หลายคนคิดว่า การเปลี่ยนแปลงและการปฏิรูปสามารถเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ. พ่อเชื่อว่า เรามักจะต้องใช้เวลาในการวางรากฐานสำหรับการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงและมีประสิทธิภาพ... , ภูมิปัญญาของการพิเคราะห์แยกแยะช่วยให้พ้นจากความกำกวมที่จำเป็นเกี่ยวกับชีวิตและช่วยเราให้พบวิธีการที่เหมาะสมมากที่สุด ซึ่งไม่เคยเข้าได้กับเรื่องใหญ่โตและกระด้าง"
         สำหรับสมเด็จพระสันตะปาปา,พระศาสนจักรในปัจจุบันต้องการ "ความสามารถในการรักษาบาดแผลและให้ความอบอุ่นแก่หัวใจของสัตบุรุษ; ต้องการการปรับเปลี่ยนและความใกล้ชิดเป็นกันเอง. พ่อเห็นพระศาสนจักรเป็นโรงพยาบาลภาคสนามหลังสงคราม. ไม่มีประโยชน์ที่จะถามคนที่รับบาดเจ็บสาหัส เกี่ยวกับระดับความดันโลหิตและเกี่ยวกับระดับน้ำตาลในเลือด.  เขาต้องรักษาบาดแผลของเขา. เมื่อนั้นแหละเราก็จะสามารถพูดคุยได้ทุกเรื่อง. จงรักษาแผลเยียวยาแผล... และคุณจะต้องเริ่มต้นจากพื้นดิน...หลายครั้ง พระศาสนจักรกักตัวเองในสิ่งเล็กๆน้อยๆ ในกฎที่แสดงความใจแคบ.  สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการประกาศพระวรสาร
ครั้งแรก : พระเยซูคริสตเจ้าทรงช่วยให้ท่านรอด... แทนที่จะเป็น เพียงแค่พระศาสนจักรที่ให้การต้อนรับและคอยรับสิ่งต่างๆโดยการเปิดประตูไว้, ให้เราพยายามที่จะเป็นพระศาสนจักรที่ค้นหาเส้นทางใหม่ด้วย  ที่สามารถที่จะก้าวออกไปข้างนอก และไปหาคนที่ไม่ได้ร่วมพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ หาคนที่ทิ้งศาสนาหรือใจเย็นชา"

                 ปัญหาที่ซับซ้อน เช่น การรักคนเพศเดียวกัน หรือสถานการณ์ของคาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่, พระองค์ทรงยืนยันเกี่ยวกับความจำเป็นที่จะ "พิจารณาบุคคล. ที่นี่ เราเข้าไปในความเร้นลับของมนุษย์.  , พระเจ้าทรงเป็นเพื่อนกับบุคคลในชีวิต, และเราจะต้องเป็นเพื่อนกับพวกเขา, เริ่มจากสถานการณ์ของพวกเขา. มีความจำเป็นต้องเป็นเพื่อนกับพวกเขาด้วยความเมตตา "

             สมเด็จพระสันตะปาปาตรัสเสริมว่า "คำสอนของพระศาสนจักรด้านจริยธรรมและข้อความเชื่อทั้งหมดไม่มีความสำคัญเท่ากัน” และ "ศาสนบริการเชิงอภิบาลของพระศาสนจักรไม่ได้ถูกหล่อหลอมกับการถ่ายทอดคำสอนที่ไม่เชื่อมต่อกับคำสอนที่ถูกกำหนดขึ้นมาอย่างหัวรั้น ... เราต้องไปหาสมดุลใหม่ ... เพราะข้อเสนอของพระวรสารต้องเรียบง่าย ลึกซึ้ง แผ่ไปมากขึ้น. มันมาจากข้อเสนอที่ก่อให้เกิดผลกระทบทางศีลธรรม"


             การไตร่ตรองเกี่ยวกับบทบาทของสตรีใน พระศาสนจักร  พระองค์ทรงตอกย้ำว่า "ต้องการอัจฉริยะของสตรี ที่เราตัดสินใจว่าเป็นเรื่องสำคัญ. ความท้าทายในวันนี้คือ จะคิดเกี่ยวกับจุดยืนเฉพาะของสตรีที่อยู่ในที่มีการใช้สิทธิอำนาจของพระศาสนจักรสำหรับพื้นที่ต่างๆของพระศาสนจักร"

      หัวข้ออื่นที่ได้รับการพิจารณาระหว่างการสัมภาษณ์คือ ความสำคัญของการประชุมสภาสังคายยาวาติกัน ครั้งที่สองเป็นการ “อ่านพระวรสารอีกครั้งในแง่ของวัฒนธรรมร่วมสมัย" สมเด็จพระสันตะปาปาตรัสว่า "การประชุมสังคายนาวาติกันที่สองก่อให้เกิดขบวนการฟื้นฟูที่มาจากพระวรสารเดียวกัน. เกิดผลมหาศาลโดยเฉพาะเรื่องพิธีกรรม. งานปฏิรูปพิธีกรรมเป็นการให้บริการสัตบุรุษ  ในเรื่องการอ่านพระวรสารอีกครั้งจากสถานการณ์ประวัติศาสตร์ที่เป็นรูปธรรม. ใช่ มีการตีความพระวรสารเรื่องความต่อเนื่องและความไม่ต่อเนื่อง, แต่สิ่งหนึ่งที่ชัดเจนคือ :พัลวัตของการอ่านพระวรสาร, การทำให้สารสำหรับวันนี้เป็นจริง- ซึ่งเป็นปกติของสังคนาวาติกันที่ 2  - เปลี่ยนแปลงไม่ได้อย่างแน่นอน"

               ในย่อหน้าสุดท้ายของบทสัมภาษณ์, สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสตรัสถึง  "สิ่งล่อใจที่จะแสวงหาพระเจ้าในอดีตหรือในอนาคตที่เป็นไปได้" และทรงตั้งข้อสังเกตว่า " พระเจ้าทรงแน่นอนมั่นคงในอดีตที่ผ่านมาเพราะเราสามารถมองเห็นรอยพระบาทได้. และพระเจ้ายังทรงอยู่ในอนาคตตามพระสัญญา. แต่พระเจ้า "ที่เป็นรูปธรรม” , ในวันนี้. ด้วยเหตุนี้ การบ่นไม่เคยช่วยให้เราแสวงหาพระเจ้าได้. เพราะคำบ่นในทุกวันนี้เกี่ยวกับโลกช่าง “ป่าเถื่อน” –  หลายครั้ง คำบ่นเหล่านี้จบลงด้วยการให้กำเนิดเพื่อปรารถนาที่จะกำหนดคำสั่งในการอนุรักษ์ให้เป็นเครื่องป้องกันภายในพระศาสนจักร. ไม่. เราจะพบปะกับพระเจ้าในโลกวันนี้"

           ท่านจะอ่านบทสัมภาษณ์เต็มในฉบับออนไลน์ของนิตยสารอเมริกัน (www.americanmagazine.org ) และยูเค-ความเชื่อเป็นพื้นของสหราชอาณาจักร ( www.thinkingfaith.org )

รำพึงพระวาจาประจำวัน

วันเสาร์ สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:60-69) เวลานั้น เมื่อศิษย์หลายคนได้ยินพระองค์ตรัสดังนี้ก็กล่าวว่า “ถ้อยคำนี้ขัดหูจริง ใครจะฟังได้” พระเยซูเจ้าทรงทราบด้วยพระองค์ว่าบรรดาศิษย์กำลังบ่นกันเรื่องนี้ จึงตรัสแก่เขาว่า “เรื่องนี้ทำให้ท่านเคลือบแคลงใจหรือ แล้วถ้าท่านจะเห็นบุตรแห่งมนุษย์กลับขึ้นสู่สถานที่ที่เคยอยู่แต่ก่อนเล่า...
วันศุกร์ สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:52-59) เวลานั้น ชาวยิวจึงเถียงกันว่า “คนนี้เอาเนื้อของตนให้เรากินได้อย่างไร” พระเยซูเจ้าตรัสตอบเขาว่า “เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ถ้าท่านไม่กินเนื้อของบุตรแห่งมนุษย์ และไม่ดื่มโลหิตของเขา ท่านจะไม่มีชีวิตในตนเอง...
วันพฤหัสบดี สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 6:44-51) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ไม่มีใครมาหาเราได้ นอกจากพระบิดาผู้ทรงส่งเรามาจะทรงชักนำเขา และเราจะทำให้เขากลับคืนชีพในวันสุดท้าย มีเขียนไว้ในหนังสือของบรรดาประกาศกว่า ทุกคนจะได้รับคำสอนจากพระเจ้า ทุกคนที่ได้ฟังพระบิดา...

Don't be afraid

E-Book แผนกคริสตศาสนธรรม อัคสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สื่อการสอน เกมคำสอน เกมพระคัมภีร์ ออนไลน์

สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ สำหรับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก คุณค่าพระวรสาร คือ คุณค่าที่พระเยซูเจ้าสั่งสอน และเจริญชีวิตเป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน...
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
อุปมาเป็นเรื่องราวสั้นๆ ชวนคิด ที่พระเยซูเจ้าทรงเล่าให้ประชาชนฟัง เพื่อสอนพวกเขาเกี่ยวกับพระเจ้าและหนทางไปสวรรค์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง "คำสอนของพระเยซูเจ้า"
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง
แผนภูมิความรู้ ความสอนของพระเยซูเจ้า ความเชื่อและการรับศีลล้างบาป ความสุขแท้จริง การเป็นแบบอย่างที่ดี การรักศัตรู การภาวนา ความไว้วางใจในพระเจ้า...
5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป V. 2023
5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป V. 2023
ดาวน์โหลดแผ่นพับ 5 ขั้นตอนของการรับศีลอภัยบาป .pdf

คำสอนสำหรับเยาวชน YOUCAT

219. คริสตชนคาทอลิกต้องไปร่วมพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณบ่อยครั้งเพียงใด คริสตชนคาทอลิกมีพันธะผูกพันให้เข้าร่วมพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณทุกวันอาทิตย์ และวันฉลองบังคับ ผู้ใดที่แสวงหามิตรภาพกับพระเยซูเจ้าอย่างแท้จริง จะตอบรับการเชิญมาสู่งานเลี้ยงของพระเยซูเจ้าบ่อยที่สุดเท่าที่สามารถทำได้ (1389, 1417) ความจริงแล้วสำหรับคริสตชนแท้ “หน้าที่ในวันอาทิตย์” ไม่สมควรเป็นแค่การแสดงออกถึงภาระผูกพันเป็นดัง “การจุมพิตหน้าที่”...
218. วิธีที่ถูกต้องในการถวายเกียรติแด่องค์พระผู้เป็นเจ้าที่ทรงประทับอยู่ในแผ่นปังและเหล้าองุ่นคืออะไร เพราะพระเจ้าทรงประทับอยู่อย่างแท้จริงในรูปของปังและเหล้าองุ่นที่ได้การเสก เราต้องเก็บของถวายศักดิ์สิทธิ์นี้ด้วยความเคารพบูชาอย่างสูงสุด และกราบนมัสการองค์พระผู้เป็นเจ้าและพระผู้ไถ่กู้ของเราในศีลมหาสนิท (1378 -1381 ,1418) ถ้ามีแผ่นปังที่ได้รับการเสกเหลืออยู่จากพิธีมิสซาขอบพระคุณ ต้องเก็บรักษาไว้ในภาชนะศักดิ์สิทธิ์ในตู้ศีล เมื่อศีลมหาสนิทประทับอยู่ในตู้ศีล ตู้ศีลจึงเป็นสถานที่ที่เคารพที่สุดของวัด...
216. พระคริสตเจ้าทรงประทับอยู่ในพิธีมิสซาขอบพระคุณในวิธีใด พระคริสตเจ้าทรงเป็นพรธรรมล้ำลึกอย่างยิ่ง แต่ทรงประทับอยู่อย่างแท้จริงในศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งศีลมหาสนิท เนื่องจากพระศาสนจักรปฏิบัติตามคำสั่งของพระเยซูเจ้าที่ว่า “จงทำการนี้เพื่อระลึกถึงเราเถิด” (1 คร 11:24) การบิปังและการหยิบยื่นถ้วยกาลิกษ์ที่กระทำในทุกวันนี้ เป็นสิ่งเดียวที่เกิดขึ้นในครั้งนั้น เป็นพระคริสตเจ้าอย่างแท้จริงที่ทรงมอบพระองค์เองแก่เรา...

กิจกรรมพระคัมภีร์

เดินตามกฎ
เดินตามกฎ
เดินตามกฎ เรื่อง กฎต่างๆ พระคัมภีร์ โยชูวา 1:7-8 ภาพรวม เด็กๆ ปฏิบัติตามกฎต่างๆ ในเกม และเรียนรู้ถึงคุณค่าของการปฏิบัติตามกฎต่างๆ ในชีวิต อุปกรณ์ ปากกาเส้นใหญ่สีดำ เทปแถบกาว และกระดาษสีแดง 5 แผ่น สีเขียว 10 แผ่น วาดเครื่องหมายหยุดไว้บนกระดาษสีแดงแต่ละแผ่น และวาดลูกศรลงบนกระดาษสีเขียวแต่ละแผ่น ประสบการณ์ ให้เด็กๆ...
ดูซิ เห็นไหม
ดูซิ เห็นไหม
ดูซิ เห็นไหม เรื่อง ยืนยันต่อผู้อื่น พระคัมภีร์ สุภาษิต 16:24 ภาพรวม เด็กๆ พบสิ่งดีในผู้อื่นจากการเรียนรู้จักสิ่งดีในตนเอง อุปกรณ์ ทอฟฟี่ ดินสอ การ์ด 3 x 5 นิ้ว (2 เท่าของจำนวนเด็ก) ประสบการณ์ บอกเด็กๆ ว่าเรากำลังมองหาความดีในผู้อื่น ครูแจกดินสอและกระดาษการ์ด 3...

ประมวลภาพกิจกรรม

พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
🙏 "เอฟฟาธา แปลว่า จงเปิดเถิด" 🙏 วันเสาร์ที่ 8 เมษายน ค.ศ. 2023 แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัด "พิธีเอฟฟาธา" และฟื้นฟูจิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก และห้องประชุมชั้นใต้ดิน (สำนักมิสซัง) ในกฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย...
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
🎊 “ท่องโลกพระคัมภีร์”🎊 วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม 2024 ทีมคำสอนสัญจรได้ไปกิจกรรมพิเศษของค่ายคำสอนลูกแม่พระ ให้กับเด็กนักเรียนคำสอน วัดแม่พระฟาติมาดินแดง กว่า 50 คน ในหัวข้อ “ท่องโลกพระคัมภีร์” วันนี้ เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องราวความเป็นมาของพระคัมภีร์ตั้งแต่พันธสัญญาเดิมเรื่อยมาจนถึงพันธสัญญาใหม่ ผ่านทางวีดีโอ ควบคู่ไปกับการเติมคำในช่องว่าง และยังได้ทำกิจกรรมเพื่อช่วยให้จดจำชื่อหนังสือพระคัมภีร์ได้มากขึ้น...

สวดสายประคำ

สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น
สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น ตลอดประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรคาทอลิก พระสันตะปาปาและนักบุญจํานวนมากสนับสนุนให้สวดสายประคํา เมื่อเราเริ่มเข้าใจและซาบซึ้งในสายประคําและสวดบ่อยขึ้น เราจะเห็นความหมายที่แท้จริงของการรําพึงภาวนา เราเริ่มเห็นคุณค่าว่าคําภาวนานั้นไม่เพียงแต่ถึงพระนางมารีย์...
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ (The Rosary)การสวดบทภาวนาเดียวกันซ้ำหลายๆ ครั้ง เป็นวิธีปฏิบัติในบางศาสนา เพราะคิดว่าการสวดภาวนาซ้ำไปซ้ำมาจะได้ผลดีกว่า...

ช่วงเวลาสั้นๆ กับพระเจ้า

วงล้อ
พระเจ้าตรัสอะไรกับท่านในวันนี้ พระ​วาจา​ของ​พระองค์​เป็น​โคม​ส่อง​ทาง​ของ​ข้าพ​เจ้า เป็น​แสง​สว่าง​ส่อง​ทางเดิน​ให้​ข้าพ​เจ้า (สดด 119:105) ภาวนาวอนขอความสว่างจากพระองค์ แล้วหมุนวงล้อ...
วงล้อ พระวาจาหนุนใจในเหตุการณ์ต่างๆ ของชีวิต
ในชีวิตประจำวัน เราจะพบความเศร้า ความกลัว ปัญหา ความทุกข์ยาก ความไม่สบายใจ ความรู้สึกผิด ความหดหู่ ถูกทดลอง เจ็บป่วย...

คำถามที่เด็กๆ อยากรู้เกี่ยวกับพระเจ้า

Messiah
พระเมสสิยาห์ คำว่า พระเมสสิยาห์ เป็นภาษาฮีบรูที่ใช้เรียกพระคริสต์ ซึ่งเปลว่า...
Redeemer
พระผู้ไถ่ เป็นพระนามของพระเยซูคริสตเจ้า ที่หมายถึงว่า พระองค์สิ้นพระชนม์เพื่อไถ่เราให้รอดพ้นจากบาป
tomb
อุโมงค์ฝังศพ คือสถานที่ใช้ฝังศพผู้ตาย อุโมงค์ฝังพระศพของพระเยซูเจ้านั้นมีลักษณะเป็นโพรงหิน

ประวัตินักบุญ

25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร (St. Mark, Evangelist, feast) มีความเห็นพ้องต้องกันโดยทั่วไปว่า ชื่อของ มาระโก ที่มีกล่าวไว้ในหนังสือกิจการอัครสาวก...
25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์
วันที่ 25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ ( The Annunciation of the Lord, solemnity )...
19 มีนาคม  สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี
วันที่ 19 มีนาคม สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี (St. Joseph, Spouse of the Blessed Virgin...
17 มีนาคม  ระลึกถึงนักบุญปาตริก พระสังฆราช  (St. Patrick, Bishop, memorial)
วันที่ 17 มีนาคม ระลึกถึงนักบุญปาตริก พระสังฆราช (St. Patrick, Bishop, memorial) นักบุญปาตริกเป็นนักบุญยิ่งใหญ่และเป็นองค์อุปถัมภ์ของประเทศไอร์แลนด์ ท่านเป็นบุตรชายของ Calpurnius...

CCBKK Channel

youtube1

Kamson TikTok

tiktok

Facebook CCBKK

วันละหนึ่งนาทีกับนักบุญโยเซฟ

St.Joseph 2021

คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ccc thai web

บทอ่านและบทมิสซา

ordomissae

พระคัมภีร์คาทอลิก

WOPTMR80W7YC0H90QTK7LZC1E1L2WM

บทเพลงศักดิ์สิทธิ์

angels-5b

วิชาคริสต์ศาสนา + จริยศึกษา

poster 2023 moral re

------------------------------------------

poster 2023 christianity re

สถิติเยี่ยมชม (22-2-2012)

วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
337
23407
67387
179905
306218
35923627
Your IP: 18.189.145.20
2024-04-20 00:19

สถานะการเยี่ยมชม

มี 296 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์